ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมัยโฮโลซีน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link GA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
Boom1221 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{สั้นมาก}}
[[ไฟล์:Holocene Temperature Variations.png|thumb|อุณหภูมิเฉลี่ยของบรรยากาศโลกในสมัยโฮโลซีน]]
[[ไฟล์:Holocene Temperature Variations.png|thumb|อุณหภูมิเฉลี่ยของบรรยากาศโลกในสมัยโฮโลซีน]]
'''โฮโลซีน''' ({{lang-en|Holocene}}) เป็นสมัย (epoch) ทาง[[ธรณีวิทยา]] ที่นับย้อนไปตั้งแต่ 11,700 ปี <ref>{{cite web | url=http://www.stratigraphy.org/upload/ISChart2009.pdf | title=International Stratigraphic Chart |publisher=International Commission on Stratigraphy | accessdate=2009-12-23}}</ref> มาจนถึงปัจจุบัน (เมื่อนับด้วยการหาค่าอายุวัตถุโบราณด้วย[[คาร์บอน-14]] จะเท่ากับ 10000 <sup>14</sup>C ปี) สมัยโฮโลซีนเป็นส่วนหนึ่งของยุค[[ควอเทอร์นารี]] โดยนับตั้งแต่ปลาย[[ยุคน้ำแข็ง]]ครั้งหลังสุด
'''โฮโลซีน''' ({{lang-en|Holocene}}) เป็น[[สมัย]] (epoch) ทาง[[ธรณีวิทยา]] ที่เริ่มขึ้นหลังจากการสิ้นสุดของ[[ไพลส์โตซีน]]<ref>{{cite web | url=http://www.stratigraphy.org/upload/ISChart2009.pdf | title=International Stratigraphic Chart |publisher=International Commission on Stratigraphy | accessdate=2009-12-23}}</ref> (11,700 ปี[[ก่อนปัจจุบัน]] ตามปีปฏิทิน) มาจนถึงปัจจุบัน สมัยโฮโลซีนเป็นส่วนหนึ่งของยุค[[ควอเทอร์นารี]] โดยนับตั้งแต่ปลาย[[ควอเทอนารีกลาเซียชัน|ยุคน้ำแข็งครั้งล่าสุด]]


ชื่อโฮโลซีน มาจากรากศัพท์[[ภาษากรีก]] ὅλος (''holos'' แปลว่า ทั้งหมด) และ καινός (''kainos'' แปลว่า ใหม่) ได้รับการบัญญัติโดย[[สภาธรณีวิทยาสากล]] ในปี .ศ. 1885 <ref>[http://paleobiology.si.edu/geotime/main/htmlversion/holocene1.html Holocene: Overview]</ref>
ชื่อโฮโลซีน มาจากรากศัพท์[[ภาษากรีก]] ὅλος (''holos'' แปลว่า ทั้งหมด) และ καινός (''kainos'' แปลว่า ใหม่) ซึ่งแปลว่า "ใหม่ทั้งหมด" ได้รับการบัญญัติโดย[[สภาธรณีวิทยาสากล]] ในปี .ศ. 2428 <ref>[http://paleobiology.si.edu/geotime/main/htmlversion/holocene1.html Holocene: Overview]</ref>


การดำรงอยู่ของมนุษยชาติ สังคมเมืองทั้งหมด อยู่ในสมัยโฮโลซีน ซึ่งมีสภาพ[[ภูมิอากาศ]]ค่อนข้างคงที่ นักธรณีวิทยาในปัจจุบันเริ่มบัญญัติศัพท์ว่า [[แอนโทรโปซีน]] ซึ่งหมายถึงสมัยที่การกระทำของมนุษย์มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และการสูญพันธุ์ของสัตว์ป่า โดยเริ่มนับตั้งแต่[[การปฏิวัติอุตสาหกรรม]] ในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 18 มาจนถึงปัจจุบัน<ref name="Zalasiewicz08">{{Cite journal |author = Zalasiewicz, J. et al.|title = Are we now living in the Anthropocene |journal = GSA Today |volume = 18 |issue = 2 |pages=4–8 |year = 2008 |url = http://www.see.ed.ac.uk/~shs/Climate%20change/Geo-politics/Anthropocene%202.pdf |doi = 10.1130/GSAT01802A.1}}</ref>
การดำรงอยู่ของมนุษยชาติ สังคมเมืองทั้งหมด อยู่ในสมัยโฮโลซีน ซึ่งมีสภาพ[[ภูมิอากาศ]]ค่อนข้างคงที่ นักธรณีวิทยาในปัจจุบันเริ่มบัญญัติศัพท์ว่า [[แอนโทรโปซีน]] ซึ่งหมายถึงสมัยที่การกระทำของมนุษย์มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และการสูญพันธุ์ของสัตว์ป่า โดยเริ่มนับตั้งแต่[[การปฏิวัติอุตสาหกรรม]] ในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 18 มาจนถึงปัจจุบัน<ref name="Zalasiewicz08">{{Cite journal |author = Zalasiewicz, J. et al.|title = Are we now living in the Anthropocene |journal = GSA Today |volume = 18 |issue = 2 |pages=4–8 |year = 2008 |url = http://www.see.ed.ac.uk/~shs/Climate%20change/Geo-politics/Anthropocene%202.pdf |doi = 10.1130/GSAT01802A.1}}</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:50, 31 พฤษภาคม 2558

อุณหภูมิเฉลี่ยของบรรยากาศโลกในสมัยโฮโลซีน

โฮโลซีน (อังกฤษ: Holocene) เป็นสมัย (epoch) ทางธรณีวิทยา ที่เริ่มขึ้นหลังจากการสิ้นสุดของไพลส์โตซีน[1] (11,700 ปีก่อนปัจจุบัน ตามปีปฏิทิน) มาจนถึงปัจจุบัน สมัยโฮโลซีนเป็นส่วนหนึ่งของยุคควอเทอร์นารี โดยนับตั้งแต่ปลายยุคน้ำแข็งครั้งล่าสุด

ชื่อโฮโลซีน มาจากรากศัพท์ภาษากรีก ὅλος (holos แปลว่า ทั้งหมด) และ καινός (kainos แปลว่า ใหม่) ซึ่งแปลว่า "ใหม่ทั้งหมด" ได้รับการบัญญัติโดยสภาธรณีวิทยาสากล ในปี พ.ศ. 2428 [2]

การดำรงอยู่ของมนุษยชาติ สังคมเมืองทั้งหมด อยู่ในสมัยโฮโลซีน ซึ่งมีสภาพภูมิอากาศค่อนข้างคงที่ นักธรณีวิทยาในปัจจุบันเริ่มบัญญัติศัพท์ว่า แอนโทรโปซีน ซึ่งหมายถึงสมัยที่การกระทำของมนุษย์มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และการสูญพันธุ์ของสัตว์ป่า โดยเริ่มนับตั้งแต่การปฏิวัติอุตสาหกรรม ในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 18 มาจนถึงปัจจุบัน[3]

อ้างอิง

  1. "International Stratigraphic Chart" (PDF). International Commission on Stratigraphy. สืบค้นเมื่อ 2009-12-23.
  2. Holocene: Overview
  3. Zalasiewicz, J.; และคณะ (2008). "Are we now living in the Anthropocene" (PDF). GSA Today. 18 (2): 4–8. doi:10.1130/GSAT01802A.1. {{cite journal}}: ใช้ et al. อย่างชัดเจน ใน |author= (help)