ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อิหม่าม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{สั้นมาก}}
{{สั้นมาก}}
{{อิสลาม}}
{{อิสลาม}}
'''อิหม่าม''' หรือ[[ภาษามลายูปัตตานี]]ว่า '''โต๊ะอีแม''' มาจากคำอาหรับว่า '''อิมาม''' ({{lang-ar|إمام}}) แปลว่า'''ผู้นำ''' ในศาสนาอิสลามใช้หมายถึงผู้นำทางศาสนาในด้านต่าง ๆ เช่น การ[[ละหมาด]]ใน[[มัสยิด]] เป็นผู้นำชุมชนชาวมุสลิม เป็นต้น
'''อิหม่าม''' หรือ '''โต๊ะอิหม่าม''' หรือ[[ภาษามลายูปัตตานี]]ว่า '''โต๊ะอีแม'''<ref name="แพร">{{cite book | author = แพร ศิริศักดิ์ดำเกิง | title = ทักษะวัฒนธรรม| url = http://www.sac.or.th/main/uploads/userfiles/image/taksawattanatam/p_refer.pdf | publisher = ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร | location = กรุงเทพฯ | year = 2552 | page = 141}}</ref> มาจากคำอาหรับว่า '''อิมาม''' ({{lang-ar|إمام}}) แปลว่า'''ผู้นำ''' มีหน้าที่สอนและปฏิบัติการ[[ละหมาด]]แก่[[สัปบุรุษ]]เพื่อมุ่งศรัทธาต่อ[[อัลลอฮ์]]และ[[นบีมุฮัมมัด]]<ref name="ประพนธ์">ประพนธ์ เรืองณรงค์. ''เรื่องเล่าจากปัตตานี''. กรุงเทพฯ : สถาพรบุ๊คส์, 2548, หน้า 17</ref> เป็นผู้มีความรู้และมีคุณธรรม<ref name="แพร"/>

ทั้งนี้อิหม่ามยังทำหน้าที่เป็นประธานของกิจต่าง ๆ อาทิ การเกิด การสมรส และการตาย รวมทั้งการรังสรรค์ความเจริญก้าวหน้าแก่มัสยิดและชุมชน<ref name="ประพนธ์"/>

== ดูเพิ่ม ==
* [[อิหม่ามหญิง]]
* [[คอเต็บ]]
* [[บิหลั่น]]

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}

== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* {{cite web |url= http://www.islammore.com/main/content.php?page=sub&category=6&id=2832 |title= การเป็นอิหม่าม |author= เชค อับดุลลอฮ์ อับดิรเราะหมาน ศอและห์ อาลบัสซาม (เขียน), สมอเอก (แปล)|date= |work= อิสลามมอร์ |publisher=|accessdate= 17 พฤษภาคม 2558}}


[[หมวดหมู่:อิมาม|*]]
[[หมวดหมู่:อิมาม|*]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:11, 17 พฤษภาคม 2558

อิหม่าม หรือ โต๊ะอิหม่าม หรือภาษามลายูปัตตานีว่า โต๊ะอีแม[1] มาจากคำอาหรับว่า อิมาม (อาหรับ: إمام) แปลว่าผู้นำ มีหน้าที่สอนและปฏิบัติการละหมาดแก่สัปบุรุษเพื่อมุ่งศรัทธาต่ออัลลอฮ์และนบีมุฮัมมัด[2] เป็นผู้มีความรู้และมีคุณธรรม[1]

ทั้งนี้อิหม่ามยังทำหน้าที่เป็นประธานของกิจต่าง ๆ อาทิ การเกิด การสมรส และการตาย รวมทั้งการรังสรรค์ความเจริญก้าวหน้าแก่มัสยิดและชุมชน[2]

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 แพร ศิริศักดิ์ดำเกิง (2552). ทักษะวัฒนธรรม (PDF). กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. p. 141.
  2. 2.0 2.1 ประพนธ์ เรืองณรงค์. เรื่องเล่าจากปัตตานี. กรุงเทพฯ : สถาพรบุ๊คส์, 2548, หน้า 17

แหล่งข้อมูลอื่น

  • เชค อับดุลลอฮ์ อับดิรเราะหมาน ศอและห์ อาลบัสซาม (เขียน), สมอเอก (แปล). "การเป็นอิหม่าม". อิสลามมอร์. สืบค้นเมื่อ 17 พฤษภาคม 2558. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)