ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แมลคัม เอ็กซ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Awksauce (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 48: บรรทัด 48:
* [http://www.malcolmx.com เว็บทางการ]
* [http://www.malcolmx.com เว็บทางการ]
{{lifetime|1925|1965|อ็เกซ์, มแลคัม}}
{{lifetime|1925|1965|อ็เกซ์, มแลคัม}}
{{โครงชีวประวัติ}}


[[หมวดหมู่:ชาวอเมริกันเชื้อสายแอฟริกัน]]
[[หมวดหมู่:ชาวอเมริกันเชื้อสายแอฟริกัน]]
บรรทัด 58: บรรทัด 57:
[[หมวดหมู่:บุคคลจากโอมาฮา]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากโอมาฮา]]
[[หมวดหมู่:เสียชีวิตจากอาวุธปืน]]
[[หมวดหมู่:เสียชีวิตจากอาวุธปืน]]
{{โครงชีวประวัติ}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:38, 17 พฤษภาคม 2558

ศาสตราจารย์ ดร.วิเลิศ ภูริวัชร

คณบดี คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดำรงตำแหน่งคณบดีวาระที่ 2

“วิสัยทัศน์ที่ดีนั้นต้องมีความก้าวล้ำ ไม่ใช่แค่ก้าวทัน และต้องไม่ใช่สิ่งที่เราทำได้ดีอยู่แล้ว แต่ต้องเป็นจุดหมายที่เรายังไม่เคยไปมาก่อนเพื่อท้าทายเราฝันให้ใหญ่ และไปให้ถึงความเป็นเลิศ” จาก..ความเชี่ยวชาญด้านการบริหารธุรกิจและองค์กรจากมหาวิทยาลัยชั้นนำ


ประวัติการศึกษา

● ปริญญาตรี บริหารธุรกิจบัณฑิต(เกียรตินิยม) (สาขาการเงินและการธนาคาร), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

● ปริญญาโท Master of Public and Private Management, Yale University, USA

● ปริญญาโท Master of Business Administration, Yale University, USA

● Certificate in Human Resource Management, Harvard University, USA

● DPhil (Management Studies), University of Oxford, UK


สู่…ความเชี่ยวขาญ ด้านการบริหารธุรกิจและองค์กรจากมหาวิทยาลัยชั้นนำ

–––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––

ประวัติการทำงาน

● ดำรงตำแหน่ง ศาสตราจารย์ สาขาบริหารธุรกิจ สังกัดคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งแต่ พ.ศ.2564

● คณบดีคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วาระที่ 1 ตั้งแต่ พ.ศ.2562 ถึง เมษายน 2566

● คณบดีคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วาระที่ 2 ตั้งแต่ พ.ศ.2566 ถึงปัจจุบัน

● อดีตหัวหน้าภาควิชาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี 2 วาระ ปี พ.ศ.2557-2562

● อดีตประธานคณะกรรมการดำเนินงานหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี

● อดีตรองประธานคณะกรรมการดำเนินงานหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี

● อดีตรองประธานกรรมการดำเนินงานหลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี

● อดีตหัวหน้าหน่วยงานสื่อสารองค์กร คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี

● อดีตกรรมการดำเนินงานหลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี

● กรรมการสภามหาวิทยาลัย ตั้งแต่วันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2565 ถึงปัจจุบัน

● คณะกรรมการนโยบายการเงิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

● คณะกรรมการพิจารณากำหนดตำแหน่งเชี่ยวชาญระดับต้น เชี่ยวชาญระดับกลาง และเชี่ยวชาญระดับสูง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

● คณะกรรมการประกันคุณภาพ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

● คณะกรรมการอำนวยการวิเคราะห์กรอบอัตรากำลังของมหาวิทยาลัย

● อดีตผู้อำนวยการหลักสูตรสหสาขาวิชาธุรกิจเทคโนโลยีและการจัดการนวัตกรรม บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


ระดับนานาชาติ

● กรรมการประเมินผลงานคุณภาพระดับโลก AACSB (Association to Advance Collegiate Schools of Business)

● สถาบันรับรองมาตรฐานการศึกษาด้านบริหารธุรกิจ จากสหรัฐอเมริกา

● กรรมการประเมินผลงานคุณภาพระดับโลก EQUIS (EFMD Quality Improvement System)

● สถาบันรับรองมาตรฐานการศึกษาด้านบริหารธุรกิจ จากสหภาพยุโรป

● กรรมการประเมินผลงานคุณภาพระดับโลก AMBA (Association of MBAs)

● สถาบันรับรองมาตรฐานหลักสูตรบริหารธุรกิจระดับบัณฑิตศึกษา จากสหราชอาณาจักร

● ประธานกรรมการวิจัยร่วมกับ The World Economic Forum : WEF ในส่วนของการทำวิจัยในประเทศไทย

● กรรมการตัดสินในงานระดับโลก Youth4South Entrepreneurship Competition at United Nations

สถานที่ที่แมลคัมถูกยิงเสียชีวิต

แมลคัม เอ็กซ์ (อังกฤษ: Malcolm X ออกเสียง /ˈmælkəm ˈɛks/) (19 พฤษภาคม ค.ศ. 1925 - 21 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1965) หรือ เอล-ฮัจญ์ มาลิก เอล-ชาบาซ (อาหรับ: الحاجّ مالك الشباز, อังกฤษ: El-Hajj Malik El-Shabazz) เป็นนักพูด นักรณรงค์เพื่อสิทธิมนุษยชนของชาวมุสลิมและชาวอเมริกันผิวดำ

แมลคัม เอ็กซ์ เกิดที่โอมาฮา เนแบรสกา เดิมชื่อ "แมลคัม ลิทเทิล" บิดาของเขาถูกฆาตกรรม และมารดาถูกส่งเข้าโรงพยาบาลเพื่อรักษาอาการทางประสาท มัลแคมจึงต้องใช้ชีวิตวัยเด็กในบ้านเลี้ยงดูเด็กกำพร้า ทำให้ขาดการเลี้ยงดู และก่ออาชญากรรมในบอสตันและนิวยอร์ก และต้องรับโทษในเรือนจำ ในปี 1945

ระหว่างถูกจองจำ แมลคัมได้ร่วมเป็นสมาชิกของขบวนการชาติแห่งอิสลาม และเปลี่ยนไปนับถือศาสนาอิสลาม หลังจากเขาได้รับทัณฑ์บนในปี ค.ศ. 1952 แมลคัมได้ร่วมงานกับขบวนการชาติแห่งอิสลามอย่างจริงจัง ได้รับตำแหน่งโฆษกและเป็นแกนนำคนสำคัญคนหนึ่งขององค์การ ต่อมาเขาเกิดความขัดแย้งกับอีไลจาห์ มูฮัมมัด ผู้นำขบวนการชาติแห่งอิสลาม จึงลาออกในปี ค.ศ. 1964

หลังจากเปลี่ยนไปนับถือศาสนาอิสลาม แมลคัมเปลี่ยนนามสกุลจาก "ลิทเทิล" เป็น "เอ็กซ์" (X) โดยให้เหตุผลว่า เป็นชื่อที่สื่อแสดงถึงความเป็นนามสกุลของชาวแอฟริกันที่แท้จริง (คือ ไม่ทราบที่มา) แทนที่นามสกุล 'ลิทเทิล' ของเดิมที่สื่อถึงชาวผิวขาว ตาสีฟ้า [1] หลังจากเขาลาออกจากขบวนการชาติแห่งอิสลาม แมลคัมได้เดินทางไปประกอบพิธีฮัจญ์ที่นครเมกกะ ประเทศซาอุดิอาระเบีย ได้เปลี่ยนไปนับถือนิกายซุนนี และเปลี่ยนไปใช้ชื่อในภาษาอาหรับว่า เอล-ฮัจญ์ มาลิก เอล-ชาบาซ

หลังจากลาออกจากขบวนการชาติแห่งอิสลาม แมลคัมได้ตั้งองค์กรชื่อ "Muslim Mosque, Inc." และ "Organization of Afro-American Unity" ทำให้เกิดความขัดแย้งกับองค์กรเดิม เขาถูกสังหารเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1965 ขณะกำลังปราศรัยในหอประชุมแห่งหนึ่งในแมนฮัตตัน [2]โดยชายฉกรรจ์สามคน ที่เป็นสมาชิกของขบวนการชาติแห่งอิสลาม แต่องค์กรดังกล่าวได้ปฏิเสธความเกี่ยวข้องกับการลอบสังหาร

อ้างอิง

  1. "The Muslim's 'X' symbolized the true African family name that he never could know. For me, my 'X' replaced the white slavemaster name of 'Little' which some blue-eyed devil named Little had imposed upon my paternal forebears.", Malcolm X, Autobiography, p. 229.
  2. Kihss, Peter (February 22, 1965). "Malcolm X Shot to Death at Rally Here". The New York Times. สืบค้นเมื่อ August 1, 2008.

แหล่งข้อมูลอื่น