ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิวไคลด์เกิดพร้อมโลก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Boom1221 (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: ในธรณีเคมีและธรณีฟิสิกส์นิวเคลียร์ '''นิวไคลด์ดึกดำบรรพ์'...
 
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
ใน[[ธรณีเคมี]]และธรณี[[ฟิสิกส์นิวเคลียร์]] '''นิวไคลด์ดึกดำบรรพ์''' ({{lang-en|Primodial nucilde}}) หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ '''ไอโซโทปดึกดำบรรพ์''' เป็นนิวไคลด์ที่พบบน[[โลก (ดาวเคราะห์)|โลก]]ที่ยังคงสภาพเดิมนับตั้งแต่ก่อนที่[[การกำเนิดโลก|โลกก่อตัวขึ้น]] นิวไคลด์ดึกดำบรรพ์นี้เป็นสิ่งที่เหลือตกค้างมาจาก[[บิกแบง]] นิวไคลด์อื่นๆในเอกภพ และจาก[[ซูเปอร์โนวา]] ซึ่งเกิดขึ้นก่อนที่จะมี[[ระบบสุริยะ]] พวกมันประกอบไปด้วยนิวไคลด์ที่เสถียรแล้ว และมีอายุที่ยาวนานนับตั้งแต่เนบิวลาดาวฤกษ์ยุคแรก ผ่านการก่อตัวของดาวเคราะห์ จนกระทั่งถึงปัจจุบัน มีนิวไคลด์ที่เสถียรแล้ว 288 ตัวที่เป็นที่รู้จัก
ใน[[ธรณีเคมี]]และธรณี[[ฟิสิกส์นิวเคลียร์]] '''นิวไคลด์ดึกดำบรรพ์''' ({{lang-en|Primodial nuclide}}) หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ '''ไอโซโทปดึกดำบรรพ์''' เป็นนิวไคลด์ที่พบบน[[โลก (ดาวเคราะห์)|โลก]]ที่ยังคงสภาพเดิมนับตั้งแต่ก่อนที่[[การกำเนิดโลก|โลกก่อตัวขึ้น]] นิวไคลด์ดึกดำบรรพ์นี้เป็นสิ่งที่เหลือตกค้างมาจาก[[บิกแบง]] นิวไคลด์อื่นๆในเอกภพ และจาก[[ซูเปอร์โนวา]] ซึ่งเกิดขึ้นก่อนที่จะมี[[ระบบสุริยะ]] พวกมันประกอบไปด้วยนิวไคลด์ที่เสถียรแล้ว และมีอายุที่ยาวนานนับตั้งแต่เนบิวลาดาวฤกษ์ยุคแรก ผ่านการก่อตัวของดาวเคราะห์ จนกระทั่งถึงปัจจุบัน มีนิวไคลด์ที่เสถียรแล้ว 288 ตัวที่เป็นที่รู้จัก


มี[[ไอโซโทปเสถียร|นิวไคลด์เสถียร]] 254 ตัว ซึ่งเป็นนิวไคลด์ดึกดำบรรพ์โดยแท้ และมีอีก 34 ตัวที่มี[[ครึ่งชีวิต]]ที่ยาวนานพอที่จะรอดมาจากการกำเนิดโลก นิวไลคด์ดึกดำบรรพ์ 34 ตัวนี้ แบ่งเป็น[[ไอโซโทป]]ของธาตุ 28 ธาตุ เป็นของ[[แคดเมียม]] [[เทลลูเรียม]] [[นีโอดีเมียม]] และ[[ยูเรเนียม]] อย่างละ 2 ตัว (<sup>113</sup>Cd, <sup>116</sup>Cd; <sup>128</sup>Te, <sup>130</sup>Te; <sup>144</sup>Nd, <sup>150</sup>Nd และ <sup>235</sup>U, <sup>238</sup>U) และ[[ซาแมเรียม]]มี 3 ตัว (<sup>146</sup>Sm <sup>147</sup>Sm <sup>148</sup>Sm)
มี[[ไอโซโทปเสถียร|นิวไคลด์เสถียร]] 254 ตัว ซึ่งเป็นนิวไคลด์ดึกดำบรรพ์โดยแท้ และมีอีก 34 ตัวที่มี[[ครึ่งชีวิต]]ที่ยาวนานพอที่จะรอดมาจากการกำเนิดโลก นิวไลคด์ดึกดำบรรพ์ 34 ตัวนี้ แบ่งเป็น[[ไอโซโทป]]ของธาตุ 28 ธาตุ เป็นของ[[แคดเมียม]] [[เทลลูเรียม]] [[นีโอดีเมียม]] และ[[ยูเรเนียม]] อย่างละ 2 ตัว (<sup>113</sup>Cd, <sup>116</sup>Cd; <sup>128</sup>Te, <sup>130</sup>Te; <sup>144</sup>Nd, <sup>150</sup>Nd และ <sup>235</sup>U, <sup>238</sup>U) และ[[ซาแมเรียม]]มี 3 ตัว (<sup>146</sup>Sm <sup>147</sup>Sm <sup>148</sup>Sm)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:43, 16 เมษายน 2558

ในธรณีเคมีและธรณีฟิสิกส์นิวเคลียร์ นิวไคลด์ดึกดำบรรพ์ (อังกฤษ: Primodial nuclide) หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ ไอโซโทปดึกดำบรรพ์ เป็นนิวไคลด์ที่พบบนโลกที่ยังคงสภาพเดิมนับตั้งแต่ก่อนที่โลกก่อตัวขึ้น นิวไคลด์ดึกดำบรรพ์นี้เป็นสิ่งที่เหลือตกค้างมาจากบิกแบง นิวไคลด์อื่นๆในเอกภพ และจากซูเปอร์โนวา ซึ่งเกิดขึ้นก่อนที่จะมีระบบสุริยะ พวกมันประกอบไปด้วยนิวไคลด์ที่เสถียรแล้ว และมีอายุที่ยาวนานนับตั้งแต่เนบิวลาดาวฤกษ์ยุคแรก ผ่านการก่อตัวของดาวเคราะห์ จนกระทั่งถึงปัจจุบัน มีนิวไคลด์ที่เสถียรแล้ว 288 ตัวที่เป็นที่รู้จัก

มีนิวไคลด์เสถียร 254 ตัว ซึ่งเป็นนิวไคลด์ดึกดำบรรพ์โดยแท้ และมีอีก 34 ตัวที่มีครึ่งชีวิตที่ยาวนานพอที่จะรอดมาจากการกำเนิดโลก นิวไลคด์ดึกดำบรรพ์ 34 ตัวนี้ แบ่งเป็นไอโซโทปของธาตุ 28 ธาตุ เป็นของแคดเมียม เทลลูเรียม นีโอดีเมียม และยูเรเนียม อย่างละ 2 ตัว (113Cd, 116Cd; 128Te, 130Te; 144Nd, 150Nd และ 235U, 238U) และซาแมเรียมมี 3 ตัว (146Sm 147Sm 148Sm)

ดูเพิ่ม