ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สม็อก (ตัวละคร)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link GA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
Boyvertex (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:


'''สม็อก''' (Smaug) เป็นชื่อ[[มังกรในมิดเดิลเอิร์ธ|มังกร]] ในปกรณัมชุด[[มิดเดิลเอิร์ธ]] ของ [[เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน]] ปรากฏในเรื่อง ''[[เดอะฮอบบิท]]'' ได้ชื่อว่าเป็นมังกรตัวสุดท้ายของมิดเดิลเอิร์ธ มีสมญาอื่นว่า ''สม็อกมังกรทอง'' หรือ ''สม็อกผู้เรืองรอง'' มันสามารถพ่นไฟได้ จึงเชื่อว่าเป็นมังกรในตระกูลมังกรไฟ และสามารถบินได้
'''สม็อก''' (Smaug) เป็นชื่อ[[มังกรในมิดเดิลเอิร์ธ|มังกร]] ในปกรณัมชุด[[มิดเดิลเอิร์ธ]] ของ [[เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน]] ปรากฏในเรื่อง ''[[เดอะฮอบบิท]]'' ได้ชื่อว่าเป็นมังกรตัวสุดท้ายของมิดเดิลเอิร์ธ มีสมญาอื่นว่า ''สม็อกมังกรทอง'' หรือ ''สม็อกผู้เรืองรอง'' มันสามารถพ่นไฟได้ จึงเชื่อว่าเป็นมังกรในตระกูลมังกรไฟ และสามารถบินได้

{{กล่องข้อมูล เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์
| image_character = สม็อก.jpeg
| image_caption = มังกรสม็อก จากภาพยนตร์[[เดอะฮอบบิท]]
| character_name = สม็อก
| character_alias = สม็อกมังกรทอง<br>สม็อกผู้เรืองรอง
| character_title = -
| character_race = [[มังกร (มิดเดิลเอิร์ธ)|มังกร]]
| character_culture = [[มังกร (มิดเดิลเอิร์ธ)|มังกร]]
| character_gender = ชาย
| character_realm = [[เอเรบอร์|เขาโลนลี่]]
| character_sub_realm = ([[เอเรบอร์]]])
| character_lifespan = [[ยุคที่สาม]]
| character_weapon = -
| character_actor = -
| character_voice = -
}}


สม็อกบุกโจมตีอาณาจักร[[เอเรบอร์]]ในปี 2770 ของ[[ยุคที่สาม]] ทำให้[[คนแคระ (มิดเดิลเอิร์ธ)|คนแคระ]]แห่งอาณาจักรเอเรบอร์ต้องหลบลี้หนีภัยไปอาศัยอยู่ในที่ต่างๆ มันครอบครองทรัพย์สมบัติในอาณาจักรแห่งนั้นอยู่นานกว่าสองร้อยปี และมักออกอาละวาดที่เมืองเอสการ็อธ เมือง[[เดล]] ซึ่งเป็นอาณาจักร[[มนุษย์ (มิดเดิลเอิร์ธ)|มนุษย์]]ในแถบใกล้เคียงอยู่เสมอ
สม็อกบุกโจมตีอาณาจักร[[เอเรบอร์]]ในปี 2770 ของ[[ยุคที่สาม]] ทำให้[[คนแคระ (มิดเดิลเอิร์ธ)|คนแคระ]]แห่งอาณาจักรเอเรบอร์ต้องหลบลี้หนีภัยไปอาศัยอยู่ในที่ต่างๆ มันครอบครองทรัพย์สมบัติในอาณาจักรแห่งนั้นอยู่นานกว่าสองร้อยปี และมักออกอาละวาดที่เมืองเอสการ็อธ เมือง[[เดล]] ซึ่งเป็นอาณาจักร[[มนุษย์ (มิดเดิลเอิร์ธ)|มนุษย์]]ในแถบใกล้เคียงอยู่เสมอ

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:03, 1 เมษายน 2558

สม็อก (smog) ที่หมายถึงมลพิษทางอากาศชนิดหนึ่ง ดูที่ หมอกควัน

สม็อก (Smaug) เป็นชื่อมังกร ในปกรณัมชุดมิดเดิลเอิร์ธ ของ เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน ปรากฏในเรื่อง เดอะฮอบบิท ได้ชื่อว่าเป็นมังกรตัวสุดท้ายของมิดเดิลเอิร์ธ มีสมญาอื่นว่า สม็อกมังกรทอง หรือ สม็อกผู้เรืองรอง มันสามารถพ่นไฟได้ จึงเชื่อว่าเป็นมังกรในตระกูลมังกรไฟ และสามารถบินได้

ตัวละครใน เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์
สม็อก

มังกรสม็อก จากภาพยนตร์เดอะฮอบบิท
ชื่อ สม็อก
ฉายา สม็อกมังกรทอง
สม็อกผู้เรืองรอง
ตำแหน่ง -
เผ่า มังกร
วัฒนธรรม มังกร
เพศ ชาย
ดินแดน เขาโลนลี่
ช่วงชีวิต ยุคที่สาม
อาวุธ -
จากภาพยนตร์ของปีเตอร์ แจ็กสัน
นักแสดง -
เสียงพากย์ -

สม็อกบุกโจมตีอาณาจักรเอเรบอร์ในปี 2770 ของยุคที่สาม ทำให้คนแคระแห่งอาณาจักรเอเรบอร์ต้องหลบลี้หนีภัยไปอาศัยอยู่ในที่ต่างๆ มันครอบครองทรัพย์สมบัติในอาณาจักรแห่งนั้นอยู่นานกว่าสองร้อยปี และมักออกอาละวาดที่เมืองเอสการ็อธ เมืองเดล ซึ่งเป็นอาณาจักรมนุษย์ในแถบใกล้เคียงอยู่เสมอ

สม็อกอาศัยอยู่ในถ้ำซึ่งมันขนเอาทรัพย์สมบัติของเอเรบอร์มากองรวมกันแล้วนอนทับเอาไว้ ใต้ท้องของสม็อกจึงมีแต่เพชรนิลจินดาที่ฝังแน่นอยู่กับพุงของมัน แต่บิลโบ แบ๊กกิ้นส์ ที่ลอบเข้าไปในรังของมันได้ค้นพบจุดอ่อนที่หน้าอกซ้าย ว่าไม่มีสิ่งใดปกคลุม เขานำเรื่องออกมาบอกคนแคระ แต่นกทรัชสอดแนมนำความกลับไปแจ้งแก่บาร์ด นักธนูแห่งเดล ทำให้เขาสามารถยิงธนูใส่จุดอ่อนนั้นเมื่อสม็อกบินมาอาละวาดทำลายเมืองเดลอีก ด้วยคิดว่าเมืองเดลให้ความช่วยเหลือแก่ศัตรูที่ลอบเข้าไปสอดแนมในรังของมัน (และขโมยถ้วยทองคำออกมาด้วย) สม็อกจึงเสียชีวิตด้วยน้ำมือของบาร์ด


ที่มา

แนวคิดในการประพันธ์ มังกร ของโทลคีน สอดคล้องกับตำนานปรัมปราหลายแห่งที่กล่าวถึงมังกรว่า เป็นสิ่งมีชีวิตที่ชอบสมบัติ และมักนอนอยู่บนกองสมบัติของตัว งานประพันธ์เก่าแก่ที่แสดงความข้อนี้คือ บทกวีแองโกล-แซกซอน เรื่อง "เบวูล์ฟ" ซึ่งโทลคีนเป็นศาสตราจารย์ทางด้านภาษาแองโกล-แซกซอน ในระหว่างช่วงปี ค.ศ. 1925-1945 มังกรในเรื่องเบวูล์ฟยังออกอาละวาดเนื่องจาก ถ้วยทองคำ ถูกขโมยไป เช่นเดียวกับถ้วยทองคำที่บิลโบขโมยออกมาในเรื่อง เดอะฮอบบิท[1]

อ้างอิง

  1. เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน, เบวูล์ฟ : บทวิเคราะห์มุมมองของปีศาจ (Beowulf: The Monsters and the Critics and Other Essays) เรียบเรียงโดย คริสโตเฟอร์ โทลคีน, สำนักพิมพ์ จอร์จ อัลเลนแอนด์อันวิน, 1983