ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สงครามกรุงทรอย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link FA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘วรณกรรม’ ด้วย ‘วรรณกรรม’
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:J G Trautmann Das brennende Troja.jpg|thumbnail|200px|"การเผากรุงทรอย" (1759/62) โดย Johann Georg Trautmann]]
[[ไฟล์:J G Trautmann Das brennende Troja.jpg|thumbnail|200px|"การเผากรุงทรอย" (1759/62) โดย Johann Georg Trautmann]]


'''สงครามกรุงทรอย''' ({{lang-en|Trojan War}}) เป็นสงครามระหว่างชาวอะคีอันส์ (ชาวกรีก) กับกรุง[[ทรอย]] หลัง[[ปารีส (ทรอย)|ปารีสแห่งทรอย]]ชิง[[เฮเลนแห่งทรอย|เฮเลน]]มาจากพระสวามี พระเจ้าเมเนเลอัสแห่ง[[สปาร์ตา]] สงครามดังกล่าวเป็นหนึ่งในเหตุการณ์สำคัญที่สุดใน[[เทพปกรณัมกรีก]] และมีการบอกเล่าผ่านงานวรณกรรมกรีกหลายชิ้น ที่โดดเด่นที่สุด คือ [[อีเลียด]]และ[[โอดิสซีย์]]ของ[[โฮเมอร์]] อีเลียดเกี่ยวข้องกับการล้อมกรุงทรอยปีสุดท้าย ส่วนโอดิสซีย์อธิบายการเดินทางกลับบ้านของ[[โอดิสเซียส]] ส่วนอื่นของสงครามมีการอธิบายในโคลงมหากาพย์เป็นวัฏจักร ซึ่งเหลือรอดมาเป็นส่วน ๆ ตอนจากสงครามเป็นแหล่งข้อมูลสำหรับโศกนาฏกรรมกรีก ตลอดจนงานวรรณกรรมอื่นของกรีก และสำหรับกวีชาวโรมัน ซึ่งรวม[[เวอร์จิล]]และ[[โอวิด]]
'''สงครามกรุงทรอย''' ({{lang-en|Trojan War}}) เป็นสงครามระหว่างชาวอะคีอันส์ (ชาวกรีก) กับกรุง[[ทรอย]] หลัง[[ปารีส (ทรอย)|ปารีสแห่งทรอย]]ชิง[[เฮเลนแห่งทรอย|เฮเลน]]มาจากพระสวามี พระเจ้าเมเนเลอัสแห่ง[[สปาร์ตา]] สงครามดังกล่าวเป็นหนึ่งในเหตุการณ์สำคัญที่สุดใน[[เทพปกรณัมกรีก]] และมีการบอกเล่าผ่านงานวรรณกรรมกรีกหลายชิ้น ที่โดดเด่นที่สุด คือ [[อีเลียด]]และ[[โอดิสซีย์]]ของ[[โฮเมอร์]] อีเลียดเกี่ยวข้องกับการล้อมกรุงทรอยปีสุดท้าย ส่วนโอดิสซีย์อธิบายการเดินทางกลับบ้านของ[[โอดิสเซียส]] ส่วนอื่นของสงครามมีการอธิบายในโคลงมหากาพย์เป็นวัฏจักร ซึ่งเหลือรอดมาเป็นส่วน ๆ ตอนจากสงครามเป็นแหล่งข้อมูลสำหรับโศกนาฏกรรมกรีก ตลอดจนงานวรรณกรรมอื่นของกรีก และสำหรับกวีชาวโรมัน ซึ่งรวม[[เวอร์จิล]]และ[[โอวิด]]


สงครามกำเนิดจากการวิวาทระหว่างเทพี[[อธีนา]] [[เฮรา]]และ[[แอโฟรไดที]] หลังอีริส เทพีแห่งการวิวาทและความบาดหมาง ให้ผลแอปเปิลสีทอง ซึ่งบางครั้งรู้จักกันในนาม "แอปเปิลแห่งความบาดหมาง" แก่ "ผู้ที่งามที่สุด" [[ซูส]]ส่งเทพีทั้งสามไปหาปารีส ผู้ตัดสินว่าแอโฟรไดที "ผู้งามที่สุด" ควรได้รับแอปเปิลไป เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยน แอโฟรไดทีเสกให้เฮเลน หญิงงามที่สุดในโลกและมเหสีของพระเจ้าเมเนเลอัส ตกหลุมรักปารีส และปารีสได้นำพระนางไปยังกรุงทรอย อกาเมมนอน พระเจ้ากรุงไมซีนี และพระเชษฐาของพระเจ้าเมเนเลอัส พระสวามีของเฮเลน นำกองทัพชาวอะคีอันส์ไปยังกรุงทรอยและล้อมกรุงไว้สิบปี หลังสิ้นวีรบุรุษไปมากมาย รวมทั้ง[[อคิลลีส]]และ[[เอแจ็กซ์]]ของฝ่ายอะคีอันส์ และ[[เฮกเตอร์]]และปารีสของฝ่ายทรอย กรุงทรอยก็เสียด้วยอุบาย[[ม้าโทรจัน]] ฝ่ายอะคีอันส์สังหารชาวกรุงทรอย (ยกเว้นหญิงและเด็กบางส่วนที่ไว้ชีวิตหรือขายเป็นทาส) และทำลายวิหาร ทำให้เทพเจ้าพิโรธ ชาวอะคีอะนส์ส่วนน้อยที่กลับถึงบ้านอย่างปลอดภัยและหลายคนตั้งนิคมในชายฝั่งอันห่างไกล ภายหลังชาวโรมันสืบเชื้อสายของพวกตนไปถึงเอเนียส หนึ่งในชาวกรุงทรอย ผู้กล่าวกันว่านำชาวกรุงทรอยที่เหลือรอดไปยังประเทศอิตาลีในปัจจุบัน
สงครามกำเนิดจากการวิวาทระหว่างเทพี[[อธีนา]] [[เฮรา]]และ[[แอโฟรไดที]] หลังอีริส เทพีแห่งการวิวาทและความบาดหมาง ให้ผลแอปเปิลสีทอง ซึ่งบางครั้งรู้จักกันในนาม "แอปเปิลแห่งความบาดหมาง" แก่ "ผู้ที่งามที่สุด" [[ซูส]]ส่งเทพีทั้งสามไปหาปารีส ผู้ตัดสินว่าแอโฟรไดที "ผู้งามที่สุด" ควรได้รับแอปเปิลไป เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยน แอโฟรไดทีเสกให้เฮเลน หญิงงามที่สุดในโลกและมเหสีของพระเจ้าเมเนเลอัส ตกหลุมรักปารีส และปารีสได้นำพระนางไปยังกรุงทรอย อกาเมมนอน พระเจ้ากรุงไมซีนี และพระเชษฐาของพระเจ้าเมเนเลอัส พระสวามีของเฮเลน นำกองทัพชาวอะคีอันส์ไปยังกรุงทรอยและล้อมกรุงไว้สิบปี หลังสิ้นวีรบุรุษไปมากมาย รวมทั้ง[[อคิลลีส]]และ[[เอแจ็กซ์]]ของฝ่ายอะคีอันส์ และ[[เฮกเตอร์]]และปารีสของฝ่ายทรอย กรุงทรอยก็เสียด้วยอุบาย[[ม้าโทรจัน]] ฝ่ายอะคีอันส์สังหารชาวกรุงทรอย (ยกเว้นหญิงและเด็กบางส่วนที่ไว้ชีวิตหรือขายเป็นทาส) และทำลายวิหาร ทำให้เทพเจ้าพิโรธ ชาวอะคีอะนส์ส่วนน้อยที่กลับถึงบ้านอย่างปลอดภัยและหลายคนตั้งนิคมในชายฝั่งอันห่างไกล ภายหลังชาวโรมันสืบเชื้อสายของพวกตนไปถึงเอเนียส หนึ่งในชาวกรุงทรอย ผู้กล่าวกันว่านำชาวกรุงทรอยที่เหลือรอดไปยังประเทศอิตาลีในปัจจุบัน

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:11, 1 เมษายน 2558

"การเผากรุงทรอย" (1759/62) โดย Johann Georg Trautmann

สงครามกรุงทรอย (อังกฤษ: Trojan War) เป็นสงครามระหว่างชาวอะคีอันส์ (ชาวกรีก) กับกรุงทรอย หลังปารีสแห่งทรอยชิงเฮเลนมาจากพระสวามี พระเจ้าเมเนเลอัสแห่งสปาร์ตา สงครามดังกล่าวเป็นหนึ่งในเหตุการณ์สำคัญที่สุดในเทพปกรณัมกรีก และมีการบอกเล่าผ่านงานวรรณกรรมกรีกหลายชิ้น ที่โดดเด่นที่สุด คือ อีเลียดและโอดิสซีย์ของโฮเมอร์ อีเลียดเกี่ยวข้องกับการล้อมกรุงทรอยปีสุดท้าย ส่วนโอดิสซีย์อธิบายการเดินทางกลับบ้านของโอดิสเซียส ส่วนอื่นของสงครามมีการอธิบายในโคลงมหากาพย์เป็นวัฏจักร ซึ่งเหลือรอดมาเป็นส่วน ๆ ตอนจากสงครามเป็นแหล่งข้อมูลสำหรับโศกนาฏกรรมกรีก ตลอดจนงานวรรณกรรมอื่นของกรีก และสำหรับกวีชาวโรมัน ซึ่งรวมเวอร์จิลและโอวิด

สงครามกำเนิดจากการวิวาทระหว่างเทพีอธีนา เฮราและแอโฟรไดที หลังอีริส เทพีแห่งการวิวาทและความบาดหมาง ให้ผลแอปเปิลสีทอง ซึ่งบางครั้งรู้จักกันในนาม "แอปเปิลแห่งความบาดหมาง" แก่ "ผู้ที่งามที่สุด" ซูสส่งเทพีทั้งสามไปหาปารีส ผู้ตัดสินว่าแอโฟรไดที "ผู้งามที่สุด" ควรได้รับแอปเปิลไป เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยน แอโฟรไดทีเสกให้เฮเลน หญิงงามที่สุดในโลกและมเหสีของพระเจ้าเมเนเลอัส ตกหลุมรักปารีส และปารีสได้นำพระนางไปยังกรุงทรอย อกาเมมนอน พระเจ้ากรุงไมซีนี และพระเชษฐาของพระเจ้าเมเนเลอัส พระสวามีของเฮเลน นำกองทัพชาวอะคีอันส์ไปยังกรุงทรอยและล้อมกรุงไว้สิบปี หลังสิ้นวีรบุรุษไปมากมาย รวมทั้งอคิลลีสและเอแจ็กซ์ของฝ่ายอะคีอันส์ และเฮกเตอร์และปารีสของฝ่ายทรอย กรุงทรอยก็เสียด้วยอุบายม้าโทรจัน ฝ่ายอะคีอันส์สังหารชาวกรุงทรอย (ยกเว้นหญิงและเด็กบางส่วนที่ไว้ชีวิตหรือขายเป็นทาส) และทำลายวิหาร ทำให้เทพเจ้าพิโรธ ชาวอะคีอะนส์ส่วนน้อยที่กลับถึงบ้านอย่างปลอดภัยและหลายคนตั้งนิคมในชายฝั่งอันห่างไกล ภายหลังชาวโรมันสืบเชื้อสายของพวกตนไปถึงเอเนียส หนึ่งในชาวกรุงทรอย ผู้กล่าวกันว่านำชาวกรุงทรอยที่เหลือรอดไปยังประเทศอิตาลีในปัจจุบัน

ชาวกรีกโบราณคาดว่าสงครามกรุงทรอยเป็นเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ซึ่งเกิดขึ้นในศตวรรษที่ 13 หรือ 12 ก่อนคริสตกาล และเชื่อว่ากรุงทรอยตั้งอยู่ในประเทศตุรกีปัจจุบัน ใกล้กับช่องแคบดาร์ดาเนลส์ เมื่อล่วงมาถึงสมัยใหม่ คนส่วนใหญ่เชื่อว่าทั้งสงครามและกรุงทรอยเป็นนิยาย อย่างไรก็ดี ในปี 1868 นักโบราณคดีชาวเยอรมัน ไฮน์ริช ชไลมันน์พบกับแฟรงก์ คัลเวิร์ท ผู้โน้มน้าวชไลมันน์ว่า กรุงทรอยอยู่ที่ฮิสซาร์ริค และชไลมันน์เข้าควบคุมการขุดค้นของคัลเวิร์ทบนทรัพย์สินซึ่งเป็นของคัลเวิร์ท[1] คำถามที่ว่ามีความเป็นจริงทางประวัติศาสตร์ใดอยู่เบื้องหลังสงครามกรุงทรอยหรือไม่นั้นยังไม่มีคำตอบ นักวิชาการจำนวนมากเชื่อว่านิยายดังกล่าวมีแก่นความจริงทางประวัติศาสตร์ แม้อาจหมายความว่า เรื่องเล่าของโฮเมอร์เป็นการผสมนิทการล้อมและการออกเดินทางต่าง ๆ ของชาวกรีกไมซีเนียนระหว่างยุคสัมฤทธิ์ก็ตาม ผู้ที่เชื่อว่าเรื่องเล่าสงครามกรุงทรอยมาจากความขัดแย้งในประวัติศาสตร์อย่างเฉพาะมักระบุเวลาไว้ว่าอยู่ในศตวรรษที่ 12 หรือ 11 ก่อนคริสตกาล ซึ่งค่อนข้างสอดคล้องกับหลักฐานทางโบราณคดีของการเผาทำลายทรอย 7เอ[2]

อ้างอิง

  1. Bryce, Trevor (2005). The Trojans and their neighbours. Taylor & Francis. p. 37. ISBN 978-0-415-34959-8.
  2. Wood (1985: 116–118)

แหล่งข้อมูลอื่น