ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ถนนราชดำริ"

พิกัด: 13°44′23″N 100°32′22″E / 13.739639°N 100.539389°E / 13.739639; 100.539389
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wap (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{กล่องข้อมูล ทางหลวงในประเทศไทย
{{กล่องข้อมูล ถนน
| ชื่อ = ถนนราชดำริ<br />[[ไฟล์:RatchadamriRoad.JPG|300px]]
| name = ถนนราชดำริ
| map = RatchadamriRoad.JPG
| ความยาว-กม = 2.218
| length_km = 2.218
| ทิศทางจุดa = ใต้
| direction_a = ใต้
| ทิศทางจุดb = เหนือ
| direction_b = เหนือ
| ต้นทาง = สี่แยกศาลาแดง [[ถนนพระรามที่ 4]]
| terminus_a = สี่แยกศาลาแดง [[ถนนพระรามที่ 4]]
| ปลายทาง = [[สะพานเฉลิมโลก 55]]
| terminus_b = [[สะพานเฉลิมโลก 55]]
| แยกสำคัญ = [[ถนนพระรามที่ 1]] [[สี่แยกราชประสงค์]]
| junction = [[ถนนพระรามที่ 1]] [[สี่แยกราชประสงค์]]
| สร้าง = [[พ.ศ. 2445]]
| formed = [[พ.ศ. 2445]]
}}
}}


บรรทัด 14: บรรทัด 15:


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
ถนนราชดำริเป็นถนนที่[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น ใน [[พ.ศ. 2445]]<ref name=youtube>{{cite news |title="ร้อยเรื่องเมืองไทย" ตอน ราชดำริ - ราชประสงค์ |url=http://www.youtube.com/watch?v=pVfsHuiNdfg|work=Youtube|date=11 พ.ค. 2012|accessdate=2 พ.ย. 2014 }}</ref> การสร้างถนนราชดำรินี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำริให้กำหนดขนาดถนนที่จะสร้างในรัชสมัยของพระองค์ โดยคำนึงถึงความสำคัญของถนนในอนาคตด้วย เพื่อว่าเมื่อธุรกิจก้าวหน้าขึ้น ประชาชนที่มากขึ้นและนิยมเดินทางด้วยถนนมากขึ้นจะทำให้ถนนคับแคบไปดังเช่น[[ถนนเจริญกรุง]] เมื่อแรกสร้างประชาชนวิพากษ์วิจารณ์ว่ากว้างเกินไป แต่ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ถนนเจริญกรุงกลับแคบเล็กไปทำให้เกิดอุบัติเหตุเสมอ
ถนนราชดำริเป็นถนนที่[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น ใน [[พ.ศ. 2445]]<ref name=youtube>{{cite news |title="ร้อยเรื่องเมืองไทย" ตอน ราชดำริ - ราชประสงค์ |url=http://www.youtube.com/watch?v=pVfsHuiNdfg|work=Youtube|date=11 พ.ค. 2012|accessdate=2 พ.ย. 2014 }}</ref> การสร้างถนนราชดำรินี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำริให้กำหนดขนาดถนนที่จะสร้างในรัชสมัยของพระองค์ โดยคำนึงถึงความสำคัญของถนนในอนาคตด้วย เพื่อว่าเมื่อธุรกิจก้าวหน้าขึ้น ประชาชนที่มากขึ้นและนิยมเดินทางด้วยถนนมากขึ้นจะทำให้ถนนคับแคบไปดังเช่น[[ถนนเจริญกรุง]] เมื่อแรกสร้างประชาชนวิพากษ์วิจารณ์ว่ากว้างเกินไป แต่ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ถนนเจริญกรุงกลับแคบเล็กไปทำให้เกิดอุบัติเหตุเสมอ


ถนนที่จะตัดขึ้นใหม่นั้น ควรจะได้วินิจฉัยเสียก่อนว่าจะเป็นถนนขนาดใด แล้วให้ปักเขตถนนไว้และห้ามมิให้ปลูกสร้างตึกเรือนที่ถาวรลงในเขตถนนที่กำหนดไว้ เพื่อเป็นการเตรียมการไว้แต่แรก เจ้าหน้าที่จะได้ไม่ลำบากในการรื้อถอนเมื่อต้องการจะขยายถนน และโปรดเกล้าฯ ให้เริ่มที่ถนนราชดำริเป็นต้นไป การตัดถนนและขุดคลองตั้งแต่ศาลาแดงไปถึง[[บางกะปิ]]โดยโปรดเกล้าฯ ให้กระทรวงเกษตราธิการและกระทรวงธรรมการเป็นผู้ดำเนินการ และมีเจ้าพนักงานในการสุขาภิบาลเป็นนายงานทำการขุดคลองและถนน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามถนนและนามคลองในคราวเดียวกันเมื่อวันที่ [[3 มกราคม]] [[พ.ศ. 2445]] ว่า "ถนนราชดำริห์" และ "คลองราชดำริห์" และมีพระราชกระแสให้ปลูกต้นไม้ เช่น ต้น[[ขี้เหล็ก]] หรือต้น[[จามจุรี]] หรือต้น[[ประดู่]] เพื่อให้รากของต้นไม้ยึดขอบถนนไว้ด้วย แต่[[เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์]]ได้กราบบังคมทูลว่าท่านได้ปลูกต้น[[ยางอินเดีย]]และต้น[[มะพร้าว]]สลับกันไปแล้ว ซึ่งได้โปรดเกล้าฯ ให้คงไว้ตามเดิม
ถนนที่จะตัดขึ้นใหม่นั้น ควรจะได้วินิจฉัยเสียก่อนว่าจะเป็นถนนขนาดใด แล้วให้ปักเขตถนนไว้และห้ามมิให้ปลูกสร้างตึกเรือนที่ถาวรลงในเขตถนนที่กำหนดไว้ เพื่อเป็นการเตรียมการไว้แต่แรก เจ้าหน้าที่จะได้ไม่ลำบากในการรื้อถอนเมื่อต้องการจะขยายถนน และโปรดเกล้าฯ ให้เริ่มที่ถนนราชดำริเป็นต้นไป การตัดถนนและขุดคลองตั้งแต่ศาลาแดงไปถึง[[บางกะปิ]]โดยโปรดเกล้าฯ ให้กระทรวงเกษตราธิการและกระทรวงธรรมการเป็นผู้ดำเนินการ และมีเจ้าพนักงานในการสุขาภิบาลเป็นนายงานทำการขุดคลองและถนน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามถนนและนามคลองในคราวเดียวกันเมื่อวันที่ [[3 มกราคม]] [[พ.ศ. 2445]] ว่า "ถนนราชดำริห์" และ "คลองราชดำริห์" และมีพระราชกระแสให้ปลูกต้นไม้ เช่น ต้น[[ขี้เหล็ก]] หรือต้น[[จามจุรี]] หรือต้น[[ประดู่]] เพื่อให้รากของต้นไม้ยึดขอบถนนไว้ด้วย แต่[[เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์]]ได้กราบบังคมทูลว่าท่านได้ปลูกต้น[[ยางอินเดีย]]และต้น[[มะพร้าว]]สลับกันไปแล้ว ซึ่งได้โปรดเกล้าฯ ให้คงไว้ตามเดิม
บรรทัด 25: บรรทัด 26:


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
*{{geolinks-bldg|13.739639|100.539389}}
* {{geolinks-bldg|13.739639|100.539389}}
{{สยาม}}
{{สยาม}}
{{สร้างปี|2445}}
{{สร้างปี|2445}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:50, 28 มีนาคม 2558

ถนนราชดำริ
ข้อมูลของเส้นทาง
ความยาว2.218 กิโลเมตร (1.378 ไมล์)
มีขึ้นเมื่อพ.ศ. 2445–ปัจจุบัน
ทางแยกที่สำคัญ
ปลายทางทิศใต้สี่แยกศาลาแดง ถนนพระรามที่ 4
 ถนนพระรามที่ 1 สี่แยกราชประสงค์
ปลายทางทิศเหนือสะพานเฉลิมโลก 55

ถนนราชดำริ (อังกฤษ: Thanon Ratchadamri) เป็นถนนที่เป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงปทุมวันกับแขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร มีเส้นทางเริ่มตั้งแต่สี่แยกศาลาแดง ถนนพระรามที่ 4 ตัดกับถนนพระรามที่ 1 ที่สี่แยกราชประสงค์ และสิ้นสุดที่สะพานเฉลิมโลก 55 ซึ่งเป็นสะพานข้ามคลองแสนแสบ ถนนราชดำริมีความยาวประมาณ 2 กิโลเมตร[1]

ประวัติ

ถนนราชดำริเป็นถนนที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น ใน พ.ศ. 2445[2] การสร้างถนนราชดำรินี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำริให้กำหนดขนาดถนนที่จะสร้างในรัชสมัยของพระองค์ โดยคำนึงถึงความสำคัญของถนนในอนาคตด้วย เพื่อว่าเมื่อธุรกิจก้าวหน้าขึ้น ประชาชนที่มากขึ้นและนิยมเดินทางด้วยถนนมากขึ้นจะทำให้ถนนคับแคบไปดังเช่นถนนเจริญกรุง เมื่อแรกสร้างประชาชนวิพากษ์วิจารณ์ว่ากว้างเกินไป แต่ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ถนนเจริญกรุงกลับแคบเล็กไปทำให้เกิดอุบัติเหตุเสมอ

ถนนที่จะตัดขึ้นใหม่นั้น ควรจะได้วินิจฉัยเสียก่อนว่าจะเป็นถนนขนาดใด แล้วให้ปักเขตถนนไว้และห้ามมิให้ปลูกสร้างตึกเรือนที่ถาวรลงในเขตถนนที่กำหนดไว้ เพื่อเป็นการเตรียมการไว้แต่แรก เจ้าหน้าที่จะได้ไม่ลำบากในการรื้อถอนเมื่อต้องการจะขยายถนน และโปรดเกล้าฯ ให้เริ่มที่ถนนราชดำริเป็นต้นไป การตัดถนนและขุดคลองตั้งแต่ศาลาแดงไปถึงบางกะปิโดยโปรดเกล้าฯ ให้กระทรวงเกษตราธิการและกระทรวงธรรมการเป็นผู้ดำเนินการ และมีเจ้าพนักงานในการสุขาภิบาลเป็นนายงานทำการขุดคลองและถนน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามถนนและนามคลองในคราวเดียวกันเมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2445 ว่า "ถนนราชดำริห์" และ "คลองราชดำริห์" และมีพระราชกระแสให้ปลูกต้นไม้ เช่น ต้นขี้เหล็ก หรือต้นจามจุรี หรือต้นประดู่ เพื่อให้รากของต้นไม้ยึดขอบถนนไว้ด้วย แต่เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ได้กราบบังคมทูลว่าท่านได้ปลูกต้นยางอินเดียและต้นมะพร้าวสลับกันไปแล้ว ซึ่งได้โปรดเกล้าฯ ให้คงไว้ตามเดิม

เพิ่มเติม

อ้างอิง

  1. "รายละเอียดถนนที่อยู่ในความรับผิดชอบของศูนย์ก่อสร้างและบูรณะถนน 2". กองก่อสร้างและบูรณะ สำนักการโยธา. สืบค้นเมื่อ 2 พ.ย. 2014.
  2. ""ร้อยเรื่องเมืองไทย" ตอน ราชดำริ - ราชประสงค์". Youtube. 11 พ.ค. 2012. สืบค้นเมื่อ 2 พ.ย. 2014.

แหล่งข้อมูลอื่น

13°44′23″N 100°32′22″E / 13.739639°N 100.539389°E / 13.739639; 100.539389