ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สงครามฝิ่น"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Awksauce (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{issues|เก็บกวาด=yes|ขาดอ้างอิง=yes}}
{{issues|เก็บกวาด=yes|ขาดอ้างอิง=yes}}
{{กล่องข้อมูล ความขัดแย้งทางทหาร
{{กล่องข้อมูล ความขัดแย้งทางทหาร
| conflict = สงครามฝิ่น
| conflict = สงครามฝิ่น
| partof =
| partof =
| image = [[ไฟล์:Second Opium War-guangzhou.jpg|300px]]
| image = [[ไฟล์:Second Opium War-guangzhou.jpg|300px]]
| caption = การปะทะที่[[กว่างโจว]]ระหว่างสงครามฝิ่นครั้งที่สอง
| caption = การปะทะที่[[กว่างโจว]]ระหว่างสงครามฝิ่นครั้งที่สอง
| date = พ.ศ. 2382 - 2385 <br />พ.ศ. 2399 - 2403
| date = พ.ศ. 2382 - 2385 <br />พ.ศ. 2399 - 2403
| place = [[จักรวรรดิจีน]]
| place = [[จักรวรรดิจีน]]
| coordinates =
| coordinates =
| map_type =
| map_type =
| latitude =
| latitude =
| longitude =
| longitude =
| map_size = 224
| map_size = 224
| map_caption =
| map_caption =
| territory = [[เกาะฮ่องกง]]และทางใต้ของ[[เกาลูน]]ถูกยึดเป็นของสหราชอาณาจักร
| territory = [[เกาะฮ่องกง]]และทางใต้ของ[[เกาลูน]]ถูกยึดเป็นของสหราชอาณาจักร
| result = ชัยชนะของชาติตะวันตกเหนือจีน, ตามมาด้วย[[สนธิสัญญานานกิง]]และ[[สนธิสัญญาเทียนจิน]]
| result = ชัยชนะของชาติตะวันตกเหนือจีน, ตามมาด้วย[[สนธิสัญญานานกิง]]และ[[สนธิสัญญาเทียนจิน]]
| combatant1 = {{flagicon|UK}} [[สหราชอาณาจักร]]<br />{{flagicon|France}} [[ฝรั่งเศส]]
| combatant1 = {{flagicon|UK}} [[สหราชอาณาจักร]]<br />{{flagicon|France}} [[ฝรั่งเศส]]
{{flagicon|United States}} [[สหรัฐอเมริกา]]<br />(เฉพาะในปี พ.ศ. 2399 - 2403 เท่านั้น)
{{flagicon|United States}} [[สหรัฐอเมริกา]]<br /> (เฉพาะในปี พ.ศ. 2399 - 2403 เท่านั้น)
| combatant2 = <!-- no official flag is known to have been adapted before 1872 -->{{flagicon|Qing Dynasty}} [[ราชวงศ์ชิง]]
| combatant2 = <!-- no official flag is known to have been adapted before 1872 -->{{flagicon|Qing Dynasty}} [[ราชวงศ์ชิง]]
| combatant3 =
| combatant3 =
| commander1 = {{flagicon|United Kingdom}} ไมเคิล ซีมัวร์<br />{{flagicon|United Kingdom}} เจมส์ บรูซ<br />{{flagicon|France}} ฌอง-แบปติสต์ หลุยส์ กรอส์<br />{{flagicon|France}} ออกุสเต เลโอโปลด์ โปร์เตต์
| commander1 = {{flagicon|United Kingdom}} ไมเคิล ซีมัวร์<br />{{flagicon|United Kingdom}} เจมส์ บรูซ<br />{{flagicon|France}} ฌอง-แบปติสต์ หลุยส์ กรอส์<br />{{flagicon|France}} ออกุสเต เลโอโปลด์ โปร์เตต์
{{flagicon|United States}} เจมส์ อาร์มสตรอง
{{flagicon|United States}} เจมส์ อาร์มสตรอง
| commander2 = {{flagicon|Qing Dynasty}} หลินเจ๋อสวี<br />{{flagicon|Qing Dynasty}} ฉีซาน
| commander2 = {{flagicon|Qing Dynasty}} หลินเจ๋อสวี<br />{{flagicon|Qing Dynasty}} ฉีซาน
| commander3 =
| commander3 =
| strength1 = ประมาณ 40,000 นาย,<br />อเมริกา: 287 นาย,<br />เรือรบ 3 ลำ
| strength1 = ประมาณ 40,000 นาย, <br />อเมริกา: 287 นาย, <br />เรือรบ 3 ลำ
| strength2 = ประมาณ 110,000 นาย
| strength2 = ประมาณ 110,000 นาย
| strength3 =
| strength3 =
| casualties1 = มากกว่า 2,800 นายเสียชีวิตหรือได้รับบาดเจ็บ
| casualties1 = มากกว่า 2,800 นายเสียชีวิตหรือได้รับบาดเจ็บ
| casualties3 =
| casualties3 =
| casualties2 = 47,790 นายเสียชีวิตหรือได้รับบาดเจ็บ
| casualties2 = 47,790 นายเสียชีวิตหรือได้รับบาดเจ็บ
| notes =
| notes =
}}
}}


'''สงครามฝิ่น''' ({{zh-all|s=鸦片战争|t=鴉片戰爭|p=Yāpiàn Zhànzhēng}} ''ยาเพี่ยนจ้านเจิง''; {{lang-en|Opium Wars}}) [[ฝิ่น]]เป็น[[ยาเสพย์ติด]]ที่ชาวจีนติดกันอย่างมากและติดกันมานาน ในรัชกาล[[จักรพรรดิหย่งเจิ้น]] (雍正) เคยมีดำริที่จะทำการปราบปรามฝิ่นแต่ก็ไม่ประสบความสำเร็จ ชาวจีนส่วนใหญ่ยังติดฝิ่นเรื่อยมา จนถึงรัชสมัยของ[[จักรพรรดิเต้ากวง]] (道光) ปีที่ 19 พระองค์มีเจตนารมณ์อย่างแรงกล้าที่จะทำการปราบฝิ่น ทรงแต่งตั้งหลินเจ๋อสวี เป็นผู้ตรวจราชการสองมณฑล ขึ้นเป็นผู้นำในการกวาดล้างฝิ่นจากแผ่นดินจีน
'''สงครามฝิ่น''' ({{zh-all|s=鸦片战争|t=鴉片戰爭|p=Yāpiàn Zhànzhēng}} ''ยาเพี่ยนจ้านเจิง''; {{lang-en|Opium Wars}}) [[ฝิ่น]]เป็น[[ยาเสพย์ติด]]ที่ชาวจีนติดกันอย่างมากและติดกันมานาน ในรัชกาล[[จักรพรรดิหย่งเจิ้น]] (雍正) เคยมีดำริที่จะทำการปราบปรามฝิ่นแต่ก็ไม่ประสบความสำเร็จ ชาวจีนส่วนใหญ่ยังติดฝิ่นเรื่อยมา จนถึงรัชสมัยของ[[จักรพรรดิเต้ากวง]] (道光) ปีที่ 19 พระองค์มีเจตนารมณ์อย่างแรงกล้าที่จะทำการปราบฝิ่น ทรงแต่งตั้งหลินเจ๋อสวี เป็นผู้ตรวจราชการสองมณฑล ขึ้นเป็นผู้นำในการกวาดล้างฝิ่นจากแผ่นดินจีน


== เริ่มกระบวนการปราบปรามฝิ่น ==
== เริ่มกระบวนการปราบปรามฝิ่น ==
หลินเจ๋อสวีเริ่มงานด้วยการห้ามค้าฝิ่นในมณฑลกวางตุ้ง และจับพ่อค้าฝิ่นชาวจีนที่มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งหมดไปคุมตัวในเรือนจำ ใครที่มีหลักฐานว่าค้าฝิ่นจะต้องถูกประหาร และตัดศีรษะเสียบประจาน เพื่อข่มขู่ชาวจีนอื่น ๆ ให้เกรงกลัวจะได้ไม่กล้าค้าฝิ่นอีก นอกจากปราบปรามการค้าฝิ่นในหมู่ชาวจีน หลินเจ๋อสวี ยังได้พยายามฟื้นฟูสุขภาพชาวจีนที่ติดฝิ่น โดยจัดโครงการรณรงค์การอดฝิ่น มีชาวจีนหลายคนที่อดฝิ่นได้สำเร็จ ทางการก็จะประกาศเกียรติคุณ เพื่อให้คนอื่น ๆ เอาเป็นแบบอย่างอันดีที่จะพยายามเลิกฝิ่นให้ได้ จากนั้นหลินเจ๋อสวีก็สั่งห้ามเรือพ่อค้าต่างชาติที่บรรทุกฝิ่นเข้ามาในอาณาจักรจีน โดยห้ามเรือล่องเข้าแม่น้ำจูเจียงมาเป็นเด็ดขาด และประกาศให้พ่อค้าต่างชาติที่มีฝิ่นในครอบครอง ต้องนำฝิ่นมาส่งมอบให้ทางการจีน แต่พ่อค้าชาวต่างชาติไม่สนใจคำสั่งของหลินเจ๋อสวี ยังคงค้าฝิ่นต่อไป หลินเจ๋อสวีจึงสั่งปิดล้อมย่านการค้าของคนต่างชาติใน และบีบให้พ่อค้าต่างชาติส่งฝิ่นให้ทางการจีน หลังจากปิดล้อมอยู่สองวัน พวกพ่อค้าต่างชาติก็ยอมมอบฝิ่นออกมาในที่สุด ฝิ่นที่ยึดได้ครั้งนี้ หลินสั่งให้เอาฝิ่นทั้งหมดไปละลายกับกรดน้ำส้มกับเกลือและน้ำ เพื่อฆ่าฤทธิ์ของฝิ่น แล้วก็โยนทิ้งทะเลไปจนหมดสิ้น
หลินเจ๋อสวีเริ่มงานด้วยการห้ามค้าฝิ่นในมณฑลกวางตุ้ง และจับพ่อค้าฝิ่นชาวจีนที่มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งหมดไปคุมตัวในเรือนจำ ใครที่มีหลักฐานว่าค้าฝิ่นจะต้องถูกประหาร และตัดศีรษะเสียบประจาน เพื่อข่มขู่ชาวจีนอื่น ๆ ให้เกรงกลัวจะได้ไม่กล้าค้าฝิ่นอีก นอกจากปราบปรามการค้าฝิ่นในหมู่ชาวจีน หลินเจ๋อสวี ยังได้พยายามฟื้นฟูสุขภาพชาวจีนที่ติดฝิ่น โดยจัดโครงการรณรงค์การอดฝิ่น มีชาวจีนหลายคนที่อดฝิ่นได้สำเร็จ ทางการก็จะประกาศเกียรติคุณ เพื่อให้คนอื่น ๆ เอาเป็นแบบอย่างอันดีที่จะพยายามเลิกฝิ่นให้ได้ จากนั้นหลินเจ๋อสวีก็สั่งห้ามเรือพ่อค้าต่างชาติที่บรรทุกฝิ่นเข้ามาในอาณาจักรจีน โดยห้ามเรือล่องเข้าแม่น้ำจูเจียงมาเป็นเด็ดขาด และประกาศให้พ่อค้าต่างชาติที่มีฝิ่นในครอบครอง ต้องนำฝิ่นมาส่งมอบให้ทางการจีน แต่พ่อค้าชาวต่างชาติไม่สนใจคำสั่งของหลินเจ๋อสวี ยังคงค้าฝิ่นต่อไป หลินเจ๋อสวีจึงสั่งปิดล้อมย่านการค้าของคนต่างชาติใน และบีบให้พ่อค้าต่างชาติส่งฝิ่นให้ทางการจีน หลังจากปิดล้อมอยู่สองวัน พวกพ่อค้าต่างชาติก็ยอมมอบฝิ่นออกมาในที่สุด ฝิ่นที่ยึดได้ครั้งนี้ หลินสั่งให้เอาฝิ่นทั้งหมดไปละลายกับกรดน้ำส้มกับเกลือและน้ำ เพื่อฆ่าฤทธิ์ของฝิ่น แล้วก็โยนทิ้งทะเลไปจนหมดสิ้น
ผลจากการปราบปรามฝิ่นอย่างจริงจังของหลินเจ๋อสวี ทำให้ชาวต่างชาติโดยเฉพาะพ่อค้าอังกฤษที่มีผลประโยชน์จากการค้าฝิ่นมหาศาลไม่พอใจอย่างยิ่ง เพราะฝิ่นที่หลินเจ๋อสวีทำลายไปมีจำนวนมหาศาลถึง 20,000 ลัง คิดเป็นน้ำหนักสองล้านปอนด์ครึ่ง และเนื่องจากฝิ่นเป็นสินค้าที่มีค่าสูง จึงยังมีพ่อค้าต่างชาติทั้งชาวอังกฤษและโปรตุเกส ยังคงลอบค้าฝิ่น แต่เปลี่ยนฐานการค้าจากตัวแผ่นดินใหญ่ในมณฑลกวางตุ้ง ไปอยู่ที่มาเก๊า และเกาะฮ่องกง ซึ่งมีทำเลดีกว่าแทน
ผลจากการปราบปรามฝิ่นอย่างจริงจังของหลินเจ๋อสวี ทำให้ชาวต่างชาติโดยเฉพาะพ่อค้าอังกฤษที่มีผลประโยชน์จากการค้าฝิ่นมหาศาลไม่พอใจอย่างยิ่ง เพราะฝิ่นที่หลินเจ๋อสวีทำลายไปมีจำนวนมหาศาลถึง 20,000 ลัง คิดเป็นน้ำหนักสองล้านปอนด์ครึ่ง และเนื่องจากฝิ่นเป็นสินค้าที่มีค่าสูง จึงยังมีพ่อค้าต่างชาติทั้งชาวอังกฤษและโปรตุเกส ยังคงลอบค้าฝิ่น แต่เปลี่ยนฐานการค้าจากตัวแผ่นดินใหญ่ในมณฑลกวางตุ้ง ไปอยู่ที่มาเก๊า และเกาะฮ่องกง ซึ่งมีทำเลดีกว่าแทน


== สงครามปะทุ ==
== สงครามปะทุ ==
การกระทบกระทั่งระหว่างจีนกับอังกฤษยังคงมีต่อมา เมื่อชาวจีนถูกกะลาสีเรือชาวอังกฤษฆ่าตายที่เกาลูน หลินเจ๋อสวีให้ทางอังกฤษส่งตัวกะลาสีที่ก่อเหตุมารับโทษตามกฎหมายจีน แต่กัปตันเอลเลียตของอังกฤษปฏิเสธอย่างสิ้นเชิง ผลจากการกระทบกระทั่งกันครั้งนี้ ทำให้หลินเจ๋อสวีขับไล่ชาวอังกฤษทั้งหมดออกจากมาเก๊า แต่พ่อค้าเหล่านี้ก็ไปตั้งหลักที่ฮ่องกงแทน กัปตันเอลเลียต ขอความช่วยเหลือไปทางรัฐบาลอังกฤษ รัฐบาลอังกฤษในยุคของ[[สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร|สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย]] ซึ่งเป็นยุคสมัยของ[[ลัทธิล่าอาณานิคม|การล่าอาณานิคม]]
การกระทบกระทั่งระหว่างจีนกับอังกฤษยังคงมีต่อมา เมื่อชาวจีนถูกกะลาสีเรือชาวอังกฤษฆ่าตายที่เกาลูน หลินเจ๋อสวีให้ทางอังกฤษส่งตัวกะลาสีที่ก่อเหตุมารับโทษตามกฎหมายจีน แต่กัปตันเอลเลียตของอังกฤษปฏิเสธอย่างสิ้นเชิง ผลจากการกระทบกระทั่งกันครั้งนี้ ทำให้หลินเจ๋อสวีขับไล่ชาวอังกฤษทั้งหมดออกจากมาเก๊า แต่พ่อค้าเหล่านี้ก็ไปตั้งหลักที่ฮ่องกงแทน กัปตันเอลเลียต ขอความช่วยเหลือไปทางรัฐบาลอังกฤษ รัฐบาลอังกฤษในยุคของ[[สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร|สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย]] ซึ่งเป็นยุคสมัยของ[[ลัทธิล่าอาณานิคม|การล่าอาณานิคม]]
ถือเป็นเหตุในการทำสงครามกับจีน โดยเริ่มครั้งแรกในปี [[พ.ศ. 2382]] (ค.ศ. 1839) โดยสั่งให้[[บริษัทอินเดียตะวันออก]] ซึ่งเป็นบริษัทการค้าของรัฐบาลอังกฤษ ส่งกองเรือไปช่วยที่ฮ่องกง เมื่อกองเรือรบกองแรกมาถึงซึ่งประกอบไปด้วยเรือปืนจำนวน 28 ลำ หลินเจ๋อสวีไม่เคยมีประสบการณ์กับการรบกับอาวุธที่ทันสมัยเช่นนี้ จึงถูกโจมตีจนกองเรือจีนพ่ายแพ้อย่างรวดเร็ว หนำซ้ำพวกขุนพลของจีนที่สู้แพ้อังกฤษ ยังไม่กล้ารายงานสถานการณ์ตามความเป็นจริง ทำให้หลินเจ๋อสวีเข้าใจผิดว่ากองเรือของจีนเอาชนะ[[ราชนาวี|กองทัพเรือสหราชอาณาจักร]]ได้ จึงถวายรายงานกับพระจักรพรรดิเต้ากวงว่า จีนได้รับชัยชนะ และยิ่งแสดงท่าทีแข็งกร้าวต่อพวกอังกฤษยิ่งขึ้น ในที่สุด ในปี [[พ.ศ. 2383]] (ค.ศ. 1840) ฝ่ายกองเรือรบอังกฤษก็บุกเข้าปากแม่น้ำจูเจียง และยึดเมืองกวางซูเอาไว้ได้อย่างง่ายดาย พร้อมทั้งเคลื่อนกองเรือรุกเข้ามาในแผ่นดินจีนขึ้นเรื่อย ๆ นอกจากนี้ยังส่งกองเรือราชนาวีจำนวนหนึ่งไปยึดเมืองท่าริมทะเลเอาไว้ด้วย ความทราบถึงพระจักรพรรดิเต้ากวง จึงทรงตำหนิหลินเจ๋อสวีอย่างรุนแรง และปลดหลินเจ๋อสวีจากตำแหน่งทั้งหมด เนรเทศไปยังซินเจียง และส่งแม่ทัพฉีซานมาแทน ฉีซานไม่สามารถต้านทานแสนยานุภาพของอังกฤษได้
ถือเป็นเหตุในการทำสงครามกับจีน โดยเริ่มครั้งแรกในปี [[พ.ศ. 2382]] (ค.ศ. 1839) โดยสั่งให้[[บริษัทอินเดียตะวันออก]] ซึ่งเป็นบริษัทการค้าของรัฐบาลอังกฤษ ส่งกองเรือไปช่วยที่ฮ่องกง เมื่อกองเรือรบกองแรกมาถึงซึ่งประกอบไปด้วยเรือปืนจำนวน 28 ลำ หลินเจ๋อสวีไม่เคยมีประสบการณ์กับการรบกับอาวุธที่ทันสมัยเช่นนี้ จึงถูกโจมตีจนกองเรือจีนพ่ายแพ้อย่างรวดเร็ว หนำซ้ำพวกขุนพลของจีนที่สู้แพ้อังกฤษ ยังไม่กล้ารายงานสถานการณ์ตามความเป็นจริง ทำให้หลินเจ๋อสวีเข้าใจผิดว่ากองเรือของจีนเอาชนะ[[ราชนาวี|กองทัพเรือสหราชอาณาจักร]]ได้ จึงถวายรายงานกับพระจักรพรรดิเต้ากวงว่า จีนได้รับชัยชนะ และยิ่งแสดงท่าทีแข็งกร้าวต่อพวกอังกฤษยิ่งขึ้น ในที่สุด ในปี [[พ.ศ. 2383]] (ค.ศ. 1840) ฝ่ายกองเรือรบอังกฤษก็บุกเข้าปากแม่น้ำจูเจียง และยึดเมืองกวางซูเอาไว้ได้อย่างง่ายดาย พร้อมทั้งเคลื่อนกองเรือรุกเข้ามาในแผ่นดินจีนขึ้นเรื่อย ๆ นอกจากนี้ยังส่งกองเรือราชนาวีจำนวนหนึ่งไปยึดเมืองท่าริมทะเลเอาไว้ด้วย ความทราบถึงพระจักรพรรดิเต้ากวง จึงทรงตำหนิหลินเจ๋อสวีอย่างรุนแรง และปลดหลินเจ๋อสวีจากตำแหน่งทั้งหมด เนรเทศไปยังซินเจียง และส่งแม่ทัพฉีซานมาแทน ฉีซานไม่สามารถต้านทานแสนยานุภาพของอังกฤษได้


== ผลลัพธ์ ==
== ผลลัพธ์ ==
ในปี [[พ.ศ. 2385]] (ค.ศ. 1842) กองทัพอังกฤษบุกเข้ายึดเมืองนานกิงได้ จนกระทั่งในที่สุดจำเป็นต้องเจรจาสงบศึกกับอังกฤษ ที่เมืองนานกิงนั่นเอง และยอมเซ็นสนธิสัญญาที่ชาวจีนถือว่าอัปยศที่สุด ที่เรียกว่าสนธิสัญญานานกิงในปีเดียวกันนั้น เนื้อหาในสนธิสัญญาฉบับนี้ อังกฤษบังคับให้จีนเปิดเมืองท่าตามชายทะเลเพื่อค้าขายกับอังกฤษ รวมทั้งขอสิทธิสภาพนอกอาณาเขตเหนือดินแดนจีน คนที่ถือสัญชาติอังกฤษ จะไม่ต้องขึ้นศาลจีน รวมทั้งสิทธิใด ๆ ที่อังกฤษได้ ต่างชาติอื่น ๆ ก็ต้องได้ด้วย แม้ว่าเนื้อหาของสนธิสัญญานี้ จีนต้องเสียเปรียบอังกฤษเป็นอย่างมาก แต่จีนก็จำต้องเซ็นสัญญาเพื่อยุติสงครามที่จีนเสียเปรียบอย่างเทียบไม่ติด ต่อมาจีนก็สูญเสียเอกราชบนคาบสมุทร [[เกาลูน]]ไปอีก ในวันที่ [[11 มกราคม]] [[พ.ศ. 2403]] (ค.ศ. 1860) ตามสนธิสัญญาปักกิ่ง ในรัชกาล[[จักรพรรดิเสียนเฟิง|สมเด็จพระจักรพรรดิเสียนเฟิง]] (咸丰) ปีที่ 10 และอีกครั้งหนึ่ง เมื่อวันที่ [[21 เมษายน]] [[พ.ศ. 2441]] (ค.ศ. 1898) ตรงกับรัชกาล[[จักรพรรดิกวังซวี่]] (光緒帝) ปีที่ 24 สูญเสียพื้นที่เขตดินแดนใหม่ (New Territories) ให้กับสหราชอาณาจักรในสัญญาเช่า 99 ปี นับแต่นั้น [[เซินเจิ้น]]และฮ่องกงก็ถูกแบ่งแยกการปกครองออกจากกัน และภายใน [[พ.ศ. 2443]] (ค.ศ. 1900) คนจีนกว่า 13 ล้านคน ยังคงติดฝิ่นอยู่ เศรษฐกิจของจีนถูกทำลายลงอย่างย่อยยับจากการที่จีนต้องนำเข้าฝิ่นเป็นจำนวนมากมายมหาศาลและ[[ราชวงศ์ชิง]]ก็ตกอยู่ในภาวะแห่งการล่มสลาย
ในปี [[พ.ศ. 2385]] (ค.ศ. 1842) กองทัพอังกฤษบุกเข้ายึดเมืองนานกิงได้ จนกระทั่งในที่สุดจำเป็นต้องเจรจาสงบศึกกับอังกฤษ ที่เมืองนานกิงนั่นเอง และยอมเซ็นสนธิสัญญาที่ชาวจีนถือว่าอัปยศที่สุด ที่เรียกว่าสนธิสัญญานานกิงในปีเดียวกันนั้น เนื้อหาในสนธิสัญญาฉบับนี้ อังกฤษบังคับให้จีนเปิดเมืองท่าตามชายทะเลเพื่อค้าขายกับอังกฤษ รวมทั้งขอสิทธิสภาพนอกอาณาเขตเหนือดินแดนจีน คนที่ถือสัญชาติอังกฤษ จะไม่ต้องขึ้นศาลจีน รวมทั้งสิทธิใด ๆ ที่อังกฤษได้ ต่างชาติอื่น ๆ ก็ต้องได้ด้วย แม้ว่าเนื้อหาของสนธิสัญญานี้ จีนต้องเสียเปรียบอังกฤษเป็นอย่างมาก แต่จีนก็จำต้องเซ็นสัญญาเพื่อยุติสงครามที่จีนเสียเปรียบอย่างเทียบไม่ติด ต่อมาจีนก็สูญเสียเอกราชบนคาบสมุทร [[เกาลูน]]ไปอีก ในวันที่ [[11 มกราคม]] [[พ.ศ. 2403]] (ค.ศ. 1860) ตามสนธิสัญญาปักกิ่ง ในรัชกาล[[จักรพรรดิเสียนเฟิง|สมเด็จพระจักรพรรดิเสียนเฟิง]] (咸丰) ปีที่ 10 และอีกครั้งหนึ่ง เมื่อวันที่ [[21 เมษายน]] [[พ.ศ. 2441]] (ค.ศ. 1898) ตรงกับรัชกาล[[จักรพรรดิกวังซวี่]] (光緒帝) ปีที่ 24 สูญเสียพื้นที่เขตดินแดนใหม่ (New Territories) ให้กับสหราชอาณาจักรในสัญญาเช่า 99 ปี นับแต่นั้น [[เซินเจิ้น]]และฮ่องกงก็ถูกแบ่งแยกการปกครองออกจากกัน และภายใน [[พ.ศ. 2443]] (ค.ศ. 1900) คนจีนกว่า 13 ล้านคน ยังคงติดฝิ่นอยู่ เศรษฐกิจของจีนถูกทำลายลงอย่างย่อยยับจากการที่จีนต้องนำเข้าฝิ่นเป็นจำนวนมากมายมหาศาลและ[[ราชวงศ์ชิง]]ก็ตกอยู่ในภาวะแห่งการล่มสลาย
[[ไฟล์:Opiumwar.jpg|thumb|300px|right|ภาพวาดเรือรบจีนถูกทำลายในสงครามฝิ่นครั้งแรก (พ.ศ. 2382 - พ.ศ. 2385)]]
[[ไฟล์:Opiumwar.jpg|thumb|300px|right|ภาพวาดเรือรบจีนถูกทำลายในสงครามฝิ่นครั้งแรก (พ.ศ. 2382 - พ.ศ. 2385)]]



รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:10, 27 มีนาคม 2558

สงครามฝิ่น

การปะทะที่กว่างโจวระหว่างสงครามฝิ่นครั้งที่สอง
วันที่พ.ศ. 2382 - 2385
พ.ศ. 2399 - 2403
สถานที่
ผล ชัยชนะของชาติตะวันตกเหนือจีน, ตามมาด้วยสนธิสัญญานานกิงและสนธิสัญญาเทียนจิน
ดินแดน
เปลี่ยนแปลง
เกาะฮ่องกงและทางใต้ของเกาลูนถูกยึดเป็นของสหราชอาณาจักร
คู่สงคราม

สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร
ฝรั่งเศส ฝรั่งเศส

สหรัฐ สหรัฐอเมริกา
(เฉพาะในปี พ.ศ. 2399 - 2403 เท่านั้น)
ราชวงศ์ชิง ราชวงศ์ชิง
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ

สหราชอาณาจักร ไมเคิล ซีมัวร์
สหราชอาณาจักร เจมส์ บรูซ
ฝรั่งเศส ฌอง-แบปติสต์ หลุยส์ กรอส์
ฝรั่งเศส ออกุสเต เลโอโปลด์ โปร์เตต์

สหรัฐ เจมส์ อาร์มสตรอง
ราชวงศ์ชิง หลินเจ๋อสวี
ราชวงศ์ชิง ฉีซาน
กำลัง
ประมาณ 40,000 นาย,
อเมริกา: 287 นาย,
เรือรบ 3 ลำ
ประมาณ 110,000 นาย
ความสูญเสีย
มากกว่า 2,800 นายเสียชีวิตหรือได้รับบาดเจ็บ 47,790 นายเสียชีวิตหรือได้รับบาดเจ็บ

สงครามฝิ่น (จีนตัวย่อ: 鸦片战争; จีนตัวเต็ม: 鴉片戰爭; พินอิน: Yāpiàn Zhànzhēng ยาเพี่ยนจ้านเจิง; อังกฤษ: Opium Wars) ฝิ่นเป็นยาเสพย์ติดที่ชาวจีนติดกันอย่างมากและติดกันมานาน ในรัชกาลจักรพรรดิหย่งเจิ้น (雍正) เคยมีดำริที่จะทำการปราบปรามฝิ่นแต่ก็ไม่ประสบความสำเร็จ ชาวจีนส่วนใหญ่ยังติดฝิ่นเรื่อยมา จนถึงรัชสมัยของจักรพรรดิเต้ากวง (道光) ปีที่ 19 พระองค์มีเจตนารมณ์อย่างแรงกล้าที่จะทำการปราบฝิ่น ทรงแต่งตั้งหลินเจ๋อสวี เป็นผู้ตรวจราชการสองมณฑล ขึ้นเป็นผู้นำในการกวาดล้างฝิ่นจากแผ่นดินจีน

เริ่มกระบวนการปราบปรามฝิ่น

หลินเจ๋อสวีเริ่มงานด้วยการห้ามค้าฝิ่นในมณฑลกวางตุ้ง และจับพ่อค้าฝิ่นชาวจีนที่มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งหมดไปคุมตัวในเรือนจำ ใครที่มีหลักฐานว่าค้าฝิ่นจะต้องถูกประหาร และตัดศีรษะเสียบประจาน เพื่อข่มขู่ชาวจีนอื่น ๆ ให้เกรงกลัวจะได้ไม่กล้าค้าฝิ่นอีก นอกจากปราบปรามการค้าฝิ่นในหมู่ชาวจีน หลินเจ๋อสวี ยังได้พยายามฟื้นฟูสุขภาพชาวจีนที่ติดฝิ่น โดยจัดโครงการรณรงค์การอดฝิ่น มีชาวจีนหลายคนที่อดฝิ่นได้สำเร็จ ทางการก็จะประกาศเกียรติคุณ เพื่อให้คนอื่น ๆ เอาเป็นแบบอย่างอันดีที่จะพยายามเลิกฝิ่นให้ได้ จากนั้นหลินเจ๋อสวีก็สั่งห้ามเรือพ่อค้าต่างชาติที่บรรทุกฝิ่นเข้ามาในอาณาจักรจีน โดยห้ามเรือล่องเข้าแม่น้ำจูเจียงมาเป็นเด็ดขาด และประกาศให้พ่อค้าต่างชาติที่มีฝิ่นในครอบครอง ต้องนำฝิ่นมาส่งมอบให้ทางการจีน แต่พ่อค้าชาวต่างชาติไม่สนใจคำสั่งของหลินเจ๋อสวี ยังคงค้าฝิ่นต่อไป หลินเจ๋อสวีจึงสั่งปิดล้อมย่านการค้าของคนต่างชาติใน และบีบให้พ่อค้าต่างชาติส่งฝิ่นให้ทางการจีน หลังจากปิดล้อมอยู่สองวัน พวกพ่อค้าต่างชาติก็ยอมมอบฝิ่นออกมาในที่สุด ฝิ่นที่ยึดได้ครั้งนี้ หลินสั่งให้เอาฝิ่นทั้งหมดไปละลายกับกรดน้ำส้มกับเกลือและน้ำ เพื่อฆ่าฤทธิ์ของฝิ่น แล้วก็โยนทิ้งทะเลไปจนหมดสิ้น ผลจากการปราบปรามฝิ่นอย่างจริงจังของหลินเจ๋อสวี ทำให้ชาวต่างชาติโดยเฉพาะพ่อค้าอังกฤษที่มีผลประโยชน์จากการค้าฝิ่นมหาศาลไม่พอใจอย่างยิ่ง เพราะฝิ่นที่หลินเจ๋อสวีทำลายไปมีจำนวนมหาศาลถึง 20,000 ลัง คิดเป็นน้ำหนักสองล้านปอนด์ครึ่ง และเนื่องจากฝิ่นเป็นสินค้าที่มีค่าสูง จึงยังมีพ่อค้าต่างชาติทั้งชาวอังกฤษและโปรตุเกส ยังคงลอบค้าฝิ่น แต่เปลี่ยนฐานการค้าจากตัวแผ่นดินใหญ่ในมณฑลกวางตุ้ง ไปอยู่ที่มาเก๊า และเกาะฮ่องกง ซึ่งมีทำเลดีกว่าแทน

สงครามปะทุ

การกระทบกระทั่งระหว่างจีนกับอังกฤษยังคงมีต่อมา เมื่อชาวจีนถูกกะลาสีเรือชาวอังกฤษฆ่าตายที่เกาลูน หลินเจ๋อสวีให้ทางอังกฤษส่งตัวกะลาสีที่ก่อเหตุมารับโทษตามกฎหมายจีน แต่กัปตันเอลเลียตของอังกฤษปฏิเสธอย่างสิ้นเชิง ผลจากการกระทบกระทั่งกันครั้งนี้ ทำให้หลินเจ๋อสวีขับไล่ชาวอังกฤษทั้งหมดออกจากมาเก๊า แต่พ่อค้าเหล่านี้ก็ไปตั้งหลักที่ฮ่องกงแทน กัปตันเอลเลียต ขอความช่วยเหลือไปทางรัฐบาลอังกฤษ รัฐบาลอังกฤษในยุคของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย ซึ่งเป็นยุคสมัยของการล่าอาณานิคม ถือเป็นเหตุในการทำสงครามกับจีน โดยเริ่มครั้งแรกในปี พ.ศ. 2382 (ค.ศ. 1839) โดยสั่งให้บริษัทอินเดียตะวันออก ซึ่งเป็นบริษัทการค้าของรัฐบาลอังกฤษ ส่งกองเรือไปช่วยที่ฮ่องกง เมื่อกองเรือรบกองแรกมาถึงซึ่งประกอบไปด้วยเรือปืนจำนวน 28 ลำ หลินเจ๋อสวีไม่เคยมีประสบการณ์กับการรบกับอาวุธที่ทันสมัยเช่นนี้ จึงถูกโจมตีจนกองเรือจีนพ่ายแพ้อย่างรวดเร็ว หนำซ้ำพวกขุนพลของจีนที่สู้แพ้อังกฤษ ยังไม่กล้ารายงานสถานการณ์ตามความเป็นจริง ทำให้หลินเจ๋อสวีเข้าใจผิดว่ากองเรือของจีนเอาชนะกองทัพเรือสหราชอาณาจักรได้ จึงถวายรายงานกับพระจักรพรรดิเต้ากวงว่า จีนได้รับชัยชนะ และยิ่งแสดงท่าทีแข็งกร้าวต่อพวกอังกฤษยิ่งขึ้น ในที่สุด ในปี พ.ศ. 2383 (ค.ศ. 1840) ฝ่ายกองเรือรบอังกฤษก็บุกเข้าปากแม่น้ำจูเจียง และยึดเมืองกวางซูเอาไว้ได้อย่างง่ายดาย พร้อมทั้งเคลื่อนกองเรือรุกเข้ามาในแผ่นดินจีนขึ้นเรื่อย ๆ นอกจากนี้ยังส่งกองเรือราชนาวีจำนวนหนึ่งไปยึดเมืองท่าริมทะเลเอาไว้ด้วย ความทราบถึงพระจักรพรรดิเต้ากวง จึงทรงตำหนิหลินเจ๋อสวีอย่างรุนแรง และปลดหลินเจ๋อสวีจากตำแหน่งทั้งหมด เนรเทศไปยังซินเจียง และส่งแม่ทัพฉีซานมาแทน ฉีซานไม่สามารถต้านทานแสนยานุภาพของอังกฤษได้

ผลลัพธ์

ในปี พ.ศ. 2385 (ค.ศ. 1842) กองทัพอังกฤษบุกเข้ายึดเมืองนานกิงได้ จนกระทั่งในที่สุดจำเป็นต้องเจรจาสงบศึกกับอังกฤษ ที่เมืองนานกิงนั่นเอง และยอมเซ็นสนธิสัญญาที่ชาวจีนถือว่าอัปยศที่สุด ที่เรียกว่าสนธิสัญญานานกิงในปีเดียวกันนั้น เนื้อหาในสนธิสัญญาฉบับนี้ อังกฤษบังคับให้จีนเปิดเมืองท่าตามชายทะเลเพื่อค้าขายกับอังกฤษ รวมทั้งขอสิทธิสภาพนอกอาณาเขตเหนือดินแดนจีน คนที่ถือสัญชาติอังกฤษ จะไม่ต้องขึ้นศาลจีน รวมทั้งสิทธิใด ๆ ที่อังกฤษได้ ต่างชาติอื่น ๆ ก็ต้องได้ด้วย แม้ว่าเนื้อหาของสนธิสัญญานี้ จีนต้องเสียเปรียบอังกฤษเป็นอย่างมาก แต่จีนก็จำต้องเซ็นสัญญาเพื่อยุติสงครามที่จีนเสียเปรียบอย่างเทียบไม่ติด ต่อมาจีนก็สูญเสียเอกราชบนคาบสมุทร เกาลูนไปอีก ในวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2403 (ค.ศ. 1860) ตามสนธิสัญญาปักกิ่ง ในรัชกาลสมเด็จพระจักรพรรดิเสียนเฟิง (咸丰) ปีที่ 10 และอีกครั้งหนึ่ง เมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2441 (ค.ศ. 1898) ตรงกับรัชกาลจักรพรรดิกวังซวี่ (光緒帝) ปีที่ 24 สูญเสียพื้นที่เขตดินแดนใหม่ (New Territories) ให้กับสหราชอาณาจักรในสัญญาเช่า 99 ปี นับแต่นั้น เซินเจิ้นและฮ่องกงก็ถูกแบ่งแยกการปกครองออกจากกัน และภายใน พ.ศ. 2443 (ค.ศ. 1900) คนจีนกว่า 13 ล้านคน ยังคงติดฝิ่นอยู่ เศรษฐกิจของจีนถูกทำลายลงอย่างย่อยยับจากการที่จีนต้องนำเข้าฝิ่นเป็นจำนวนมากมายมหาศาลและราชวงศ์ชิงก็ตกอยู่ในภาวะแห่งการล่มสลาย

ไฟล์:Opiumwar.jpg
ภาพวาดเรือรบจีนถูกทำลายในสงครามฝิ่นครั้งแรก (พ.ศ. 2382 - พ.ศ. 2385)