ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปฏิกิริยาแทนที่ตำแหน่งเดียว"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pi@k (คุย | ส่วนร่วม)
ปฏิกริยาแทนที่ตำแหน่งเดียว ถูกย้ายไปเป็น ปฏิกิริยาแทนที่ตำแหน่งเดียว แล้ว
Pi@k (คุย | ส่วนร่วม)
ปฏิกริยา -> ปฏิกิริยา , สมดุลย์ -> สมดุล
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''ปฏิกริยาแทนที่ตำแหน่งเดียว'''([[อังกฤษ]]:single-displacement reaction)คือปฏิกริยาเคมีที่เกิดขึ้นเมื่อ[[ธาตุเคมี]]ตัวหนึ่งเข้าไปแทนที่[[ธาตุเคมี]]อีกตัวหนึ่งในสารประกอบใดสารประกอบหนึ่งซึ่งสามารถเขียนเป็นสมการได้ดังนี้
'''ปฏิกิริยาแทนที่ตำแหน่งเดียว''' ([[อังกฤษ]]:single-displacement reaction) คือปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นเมื่อ[[ธาตุเคมี]]ตัวหนึ่งเข้าไปแทนที่[[ธาตุเคมี]]อีกตัวหนึ่งในสารประกอบใดสารประกอบหนึ่งซึ่งสามารถเขียนเป็นสมการได้ดังนี้
<br>'''ก + ขค &rarr; กค + ข'''<br> ในสมการข้างบนธาตุ '''ก '''ทำปฏิกริยาเคมีกับสารประกอบ''' ขค '''เกิดเป็นสารประกอบ '''กค''' และธาตุ''' ข''' อธิบายว่าปฏิกริยานี้จะเกิดได้ง่ายเมื่อธาตุ '''ก '''มีความไวต่อปฏิกริยาเคมีมากกว่าธาตุ''' ข '''บางครั้ง '''ก '''และ '''ข''' มีประจุไฟฟ้าไม่เท่ากันก็ได้ดังนั้นการทำให้สมการสมดุลย์จึงมีความจำเป็น ยกตัวอย่างเช่น ปฏิกริยาเคมีระหว่างแคลเซียมคลอไรด์(CaCl<sub>2</sub>)กับโซเดียม(Na)เกิดเป็นโซเดียมคลอไรด์(NaCl)และแคลเซียม(Ca)ดังสมการนี้
<br>'''ก + ขค &rarr; กค + ข'''<br> ในสมการข้างบนธาตุ '''ก '''ทำปฏิกิริยาเคมีกับสารประกอบ''' ขค '''เกิดเป็นสารประกอบ '''กค''' และธาตุ''' ข''' อธิบายว่าปฏิกิริยานี้จะเกิดได้ง่ายเมื่อธาตุ '''ก '''มีความไวต่อปฏิกิริยาเคมีมากกว่าธาตุ''' ข '''บางครั้ง '''ก '''และ '''ข''' มีประจุไฟฟ้าไม่เท่ากันก็ได้ดังนั้นการทำให้สมการสมดุลย์จึงมีความจำเป็น ยกตัวอย่างเช่น ปฏิกิริยาเคมีระหว่างแคลเซียมคลอไรด์(CaCl<sub>2</sub>)กับโซเดียม(Na)เกิดเป็นโซเดียมคลอไรด์(NaCl)และแคลเซียม(Ca)ดังสมการนี้


CaCl<sub>2</sub> + '''2'''Na &rarr; Ca + '''2'''NaCl
CaCl<sub>2</sub> + '''2'''Na &rarr; Ca + '''2'''NaCl


เพื่อทำให้สมการสมดุลย์แคลเซียมคลอไรด์หนึ่งโมเลกุลจะต้องใช้โซเดียม 2 อะตอมจึงจะไดสารประกอบ
เพื่อทำให้สมการสมดุลแคลเซียมคลอไรด์หนึ่งโมเลกุลจะต้องใช้โซเดียม 2 อะตอมจึงจะได้สารประกอบ
โซเดียมคลอไรด์ 2 โมเลกุลและแคลเซียม 1 อะตอม
โซเดียมคลอไรด์ 2 โมเลกุลและแคลเซียม 1 อะตอม


==ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง==
==ลิงก์ที่เกี่ยวข้อง==
ปฏิกริยาเคมีในสารอนินทรีย์มีด้วยกัน 4 ชนิดคือ:
ปฏิกิริยาเคมีในสารอนินทรีย์มีด้วยกัน 4 ชนิดคือ:
#[[ปฏิกริยารวมตัว]](combination reaction),
#[[ปฏิกิริยารวมตัว]] (combination reaction)
#[[ปฏิกริยาแตกตัว]](decomposition reaction),
#[[ปฏิกิริยาแตกตัว]] (decomposition reaction)
#'''ปฏิกริยาแทนที่ตำแหน่งเดียว'''(single displacement reaction),
#'''ปฏิกิริยาแทนที่ตำแหน่งเดียว''' (single displacement reaction)
#[[ปฏิกริยาแทนที่คู่ซึ่งกันและกัน]](double displacement reaction)
#[[ปฏิกิริยาแทนที่คู่ซึ่งกันและกัน]] (double displacement reaction)








[[Category:เคมี]]
[[Category:เคมี]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:07, 28 กันยายน 2548

ปฏิกิริยาแทนที่ตำแหน่งเดียว (อังกฤษ:single-displacement reaction) คือปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นเมื่อธาตุเคมีตัวหนึ่งเข้าไปแทนที่ธาตุเคมีอีกตัวหนึ่งในสารประกอบใดสารประกอบหนึ่งซึ่งสามารถเขียนเป็นสมการได้ดังนี้
ก + ขค → กค + ข
ในสมการข้างบนธาตุ ทำปฏิกิริยาเคมีกับสารประกอบ ขค เกิดเป็นสารประกอบ กค และธาตุ อธิบายว่าปฏิกิริยานี้จะเกิดได้ง่ายเมื่อธาตุ มีความไวต่อปฏิกิริยาเคมีมากกว่าธาตุบางครั้ง และ มีประจุไฟฟ้าไม่เท่ากันก็ได้ดังนั้นการทำให้สมการสมดุลย์จึงมีความจำเป็น ยกตัวอย่างเช่น ปฏิกิริยาเคมีระหว่างแคลเซียมคลอไรด์(CaCl2)กับโซเดียม(Na)เกิดเป็นโซเดียมคลอไรด์(NaCl)และแคลเซียม(Ca)ดังสมการนี้

CaCl2 + 2Na → Ca + 2NaCl

เพื่อทำให้สมการสมดุลแคลเซียมคลอไรด์หนึ่งโมเลกุลจะต้องใช้โซเดียม 2 อะตอมจึงจะได้สารประกอบ โซเดียมคลอไรด์ 2 โมเลกุลและแคลเซียม 1 อะตอม

ลิงก์ที่เกี่ยวข้อง

ปฏิกิริยาเคมีในสารอนินทรีย์มีด้วยกัน 4 ชนิดคือ:

  1. ปฏิกิริยารวมตัว (combination reaction)
  2. ปฏิกิริยาแตกตัว (decomposition reaction)
  3. ปฏิกิริยาแทนที่ตำแหน่งเดียว (single displacement reaction)
  4. ปฏิกิริยาแทนที่คู่ซึ่งกันและกัน (double displacement reaction)