ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลัทธิ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
ลบข้อมูลคัดลอก
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''ลัทธิ''' ({{lang-pi|ลทฺธิ}}; {{lang-en|doctrine}}) หมายถึง [[ความเชื่อ]] [[ความคิดเห็น]] และ[[หลักการ]] เกี่ยวกับ[[ศาสนา]] [[ปรัชญา]] [[การเมือง]] [[เศรษฐกิจ]] หรือ[[สังคม]] ที่นับถือและปฏิบัติตามสืบเนื่องกันมา<ref>[[พจนานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542]]</ref> จนเป็นอุดมการณ์ของกลุ่มชนหรือสำนักวิชาการต่าง ๆ<ref>{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง = ราชบัณฑิตยสถาน|ชื่อหนังสือ = พจนานุกรมศัพท์รัฐศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน|URL = |จังหวัด = กรุงเทพฯ|พิมพ์ที่ = ราชบัณฑิตยสถาน|ปี = 2556|ISBN = 978-616-7073-74-3|จำนวนหน้า = 438|หน้า = 103}}</ref> เช่น [[สังคมนิยม]] [[ชาตินิยม]] [[ทุนนิยม]] เป็นต้น
{{รอการตรวจสอบ}}
'''ลัทธิ''' (Doctrine) คือ[[คำสั่งสอน]] ที่มีผู้เชื่อถือและมี[[อิทธิพล]]ต่อ[[การดำเนินชีวิต]]ของ[[มนุษย์]] เช่นลัทธิทางการเมือง ลัทธิเศรษฐกิจ ลัทธิปรัชญา ลัทธิทางศาสนา เป็นต้น '''ลัทธิทางศาสนา'''จะมีความหมายแคบกว่า[[ศาสนา]] ซึ่งเป็นคำสอนเฉพาะกลุ่มของผู้นับถือ[[ศาสนา]]เดียวกัน แต่มีความแตกต่างกันในสาระสำคัญ เช่น [[พุทธศาสนา]] มีลัทธิมหายาน ลัทธิหินยาน(เถรวาท) หรือใช้คำว่า [[นิกาย]] แทนก็ได้ ลัทธิที่แสดงถึง[[ความเชื่อ]]หรือแนวทางปฏิบัติเพื่อเพื่อความมั่นคงทาง[[จิตใจ]]ของมนุษย์แต่ไม่มีลักษณะที่เรียกว่า[[ศาสนา]]ได้ เช่น ลัทธิบูชาบรรพบุรุษ ลัทธินับถือผีสางเทวดา เป็นต้น ลัทธิเหล่านี้มีแต่[[คำสั่ง]]และ[[พิธีกรรม]] แต่ไม่มี[[หลักคำสอน]]ทาง[[จริยธรรม]] ไม่มี[[คัมภีร์]]หรือองค์[[ศาสดา]] จึงไม่อาจเรียกว่า[[ศาสนา]]ได้
== ความแตกต่างระหว่าง ลัทธิ กับ ศาสนา ==
# ลัทธิ อาจไม่มีคำสั่งสอนเกี่ยวกับ[[ศีลธรรม]]จรรยาเหมือนอย่าง[[ศาสนา]]ก็ได้ เช่นลัทธิความเชื่อของเผ่าต่าง ๆ ในสังคมบรุพกาล ที่เน้นแต่การทำ[[พิธีกรรม]][[บูชาเทพเจ้า]] [[ภูตผีปีศาจ]] แต่ไม่มี[[หลักคำสอน]]ทาง[[ศีลธรรม]]จรรยา
# ลัทธิ มีคำสอนเรื่อง[[จุดมุ่งหมาย]]สูงสุดของชีวิตที่แตกต่างจาก[[ศาสนา]] กล่าวคือ[[จุดมุ่งหมาย]]สูงสุดของชีวิตมนุษย์ที่ศาสนากำหนด คือ ความสุขในทางธรรม ความสงบสุขทางจิตใจและมุ่งแก้ปัญหาที่เป็นลักษณะปัญหาสากลของมนุษย์ เช่น [[ความทุกข์]] [[ความผิดหวัง]] และพฤติกรรมความดี ความชั่ว เป็นต้นแต่จุดมุ่งหมายของลัทธิ จะเน้นความสุขทางโลก มุ่งแก้ปัญหาของมนุษย์และสังคมและมีความเหมาะสมเฉพาะสังคมบางท้องถิ่นและเฉพาะสมัยเท่านั้น เช่น [[ลัทธิเต๋า]] [[ลัทธิขงจื๊อ]] เป็นต้น
# ลัทธิอาจมี[[พิธีกรรม]]หรือไม่ก็ได้ แต่[[ศาสนา]]ต้องมี[[พิธีกรรม]]
# [[คำสอน]]ของลัทธิ เกิดจาก[[ความคิด]]และ[[ทัศนะ]]ส่วนตัวของเจ้าลัทธิเอง แต่สำหรับศาสนา [[คำสอน]]เกิดจาก[[พระบัญชา]]ของพระเจ้า โดยมี[[โองการ]]ผ่านทาง[[ศาสดา]] ศาสดามิได้คิดขึ้นเอง (ยกเว้น [[พุทธศาสนา]] ถือว่า[[คำสอน]]เป็นสิ่งที่มีอยู่ใน[[ธรรมชาติ]] พระพุทธเจ้าทรงเป็นผู้ค้นพบและนำมาเผยแพร่ เนื่องด้วยเป็น[[ศาสนา]]ที่ไม่มีพระเจ้า)
# [[คำสอน]]ของลัทธิไม่มีลักษณะความ[[ศักดิ์สิทธิ์]] แต่[[ศาสนา]]มีความ[[ศักดิ์สิทธิ์]]เป็นที่เคารพ[[สักการบูชา]]ของ[[ศาสนิกชน]]ผู้นับถือ ไม่พอใจเมื่อถูกดูหมิ่นเหยียดหยาม
# ลัทธิไม่มี[[สถาบัน]]ที่ทำหน้าที่ถ่ายทอด[[คำสอน]]และไม่มี[[คัมภีร์]]ที่รวบรวมคำสอนไว้เป็นหมวดหมู่ แต่ศาสนามี[[นักบวช]]ทำหน้าที่เผยแพร่[[คำสอน]]ของ[[ศาสดา]]และมี[[คัมภีร์]]รวบรวมเป็น[[ลายลักษณ์อักษร]] ลัทธิอาจมี[[หนังสือ]]ที่เจ้าของลัทธิแต่งขั้น แต่มิใช่คัมภีร์ เช่น ลัทธิเศรษฐกิจ ลัทธิการเมือง เป็นต้น


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* สวลี บุญมูล [http://www.kr.ac.th/ebook2/sawalee/02.html]


[[หมวดหมู่:ความเชื่อ]]
[[หมวดหมู่:ลัทธิ| ]]
[[หมวดหมู่:ลัทธิ]]
[[หมวดหมู่:หลักธรรมของศาสนา]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:58, 21 มีนาคม 2558

ลัทธิ (บาลี: ลทฺธิ; อังกฤษ: doctrine) หมายถึง ความเชื่อ ความคิดเห็น และหลักการ เกี่ยวกับศาสนา ปรัชญา การเมือง เศรษฐกิจ หรือสังคม ที่นับถือและปฏิบัติตามสืบเนื่องกันมา[1] จนเป็นอุดมการณ์ของกลุ่มชนหรือสำนักวิชาการต่าง ๆ[2] เช่น สังคมนิยม ชาตินิยม ทุนนิยม เป็นต้น

อ้างอิง

  1. พจนานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542
  2. ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมศัพท์รัฐศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556. 438 หน้า. หน้า 103. ISBN 978-616-7073-74-3