ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สารประกอบ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Awksauce (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Awksauce (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ขาดอ้างอิง}}
{{ขาดอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Water droplet.jpg|thumbnail|[[น้ำ]] ถือเป็นสารประกอบทางเคมีอย่างหนึ่ง]]
[[ไฟล์:Water droplet.jpg|thumbnail|[[น้ำ]] ถือเป็นสารประกอบทางเคมีอย่างหนึ่ง]]
'''สารประกอบ''' เป็น[[สารเคมี]]ที่เกิดจาก[[ธาตุเคมี]]ตั้งแต่สองตัวขึ้นไปมารวมตัวกันโดย [[พันธะเคมี]]ด้วยอัตราส่วนของส่วนประกอบที่แน่นอน ตัวอย่าง เช่น [[น้ำ|ไดไฮโรเจนโมน็อกไซด์]] หรือ [[น้ำ]] มีสูตรเคมีคือ [[ไฮโดรเจน|H]]<sub>2</sub>[[ออกซิเจน|O]]ซึ่งเป็นสารที่ประกอบด้วย [[ไฮโดรเจน]] 2 อะตอม และ [[ออกซิเจน]] 1 อะตอม
'''สารประกอบ''' เป็น[[สารเคมี]]ที่เกิดจาก[[ธาตุเคมี]]ตั้งแต่สองตัวขึ้นไปมารวมตัวกันโดย [[พันธะเคมี]]ด้วยอัตราส่วนของส่วนประกอบที่แน่นอน ตัวอย่าง เช่น [[น้ำ|ไดไฮโรเจนโมน็อกไซด์]] หรือ [[น้ำ]] มีสูตรเคมีคือ [[ไฮโดรเจน|H]]<sub>2</sub>[[ออกซิเจน|O]]ซึ่งเป็นสารที่ประกอบด้วย [[ไฮโดรเจน]] 2 อะตอม และ [[ออกซิเจน]] 1 อะตอม


ในสารประกอบอัตราส่วนของส่วนประกอบจะต้องคงที่และตัวชี้วัดความเป็นสารประกอบที่สำคัญคือ [[คุณสมบัติทางกายภาพ]] ซึ่งจะแตกต่างจาก [[ของผสม]](mixture) หรือ [[อัลลอย]] (alloy) เช่น [[ทองเหลือง]](brass) [[ซูเปอร์คอนดักเตอร์]] [[YBCO]], [[สารกึ่งตัวนำ]] [[อะลูมิเนียม แกลเลียม อาร์เซไนด์]](aluminium gallium arsenide) หรือ [[ซ็อกโกแลต]] (chocolate) เพราะเราสามารถกำหนดอัตราส่วนของ [[ของผสม]]ได้
ในสารประกอบอัตราส่วนของส่วนประกอบจะต้องคงที่และตัวชี้วัดความเป็นสารประกอบที่สำคัญคือ [[คุณสมบัติทางกายภาพ]] ซึ่งจะแตกต่างจาก [[ของผสม]] (mixture) หรือ [[อัลลอย]] (alloy) เช่น [[ทองเหลือง]] (brass) [[ซูเปอร์คอนดักเตอร์]] [[YBCO]], [[สารกึ่งตัวนำ]] [[อะลูมิเนียม แกลเลียม อาร์เซไนด์]] (aluminium gallium arsenide) หรือ [[ซ็อกโกแลต]] (chocolate) เพราะเราสามารถกำหนดอัตราส่วนของ [[ของผสม]]ได้


ตัวกำหนดคุณลักษณะเฉพาะของสารประกอบที่สำคัญคือ [[สูตรเคมี]] (chemical formula)
ตัวกำหนดคุณลักษณะเฉพาะของสารประกอบที่สำคัญคือ [[สูตรเคมี]] (chemical formula)
ซึ่งจะแสดงอัตราส่วนของอะตอมในสารประกอบนั้นๆ และจำนวนอะตอมในโมเลกุลเดียว เช่น สูตรเคมีของ [[อีทีน]] (ethene) จะเป็น[[คาร์บอน|C]]<sub>2</sub>[[ไฮโดรเจน|H]]<sub>4</sub> ไม่ใช่ [[คาร์บอน|C]][[ไฮโดรเจน|H]]<sub>2</sub>)
ซึ่งจะแสดงอัตราส่วนของอะตอมในสารประกอบนั้น และจำนวนอะตอมในโมเลกุลเดียว เช่น สูตรเคมีของ [[อีทีน]] (ethene) จะเป็น[[คาร์บอน|C]]<sub>2</sub>[[ไฮโดรเจน|H]]<sub>4</sub> ไม่ใช่ [[คาร์บอน|C]][[ไฮโดรเจน|H]]<sub>2</sub>)
สูตรไม่ได้ระบุว่าสารประกอบประกอบด้วยโมเลกุล เช่น [[โซเดียมคลอไรด์]] (เกลือแกง, [[โซเดียม|Na]][[คลอรีน|Cl]]) เป็น [[สารประกอบไอออนิก]] (ionic compound)
สูตรไม่ได้ระบุว่าสารประกอบประกอบด้วยโมเลกุล เช่น [[โซเดียมคลอไรด์]] (เกลือแกง, [[โซเดียม|Na]][[คลอรีน|Cl]]) เป็น [[สารประกอบไอออนิก]] (ionic compound)


บรรทัด 18: บรรทัด 18:


== ประเภทสารประกอบจำแนกตามพันธะภายในสารประกอบ ==
== ประเภทสารประกอบจำแนกตามพันธะภายในสารประกอบ ==
* [[พันธะโคเวเลนต์]] (Covalent Bond) เป็นพันธะที่มีการใช้อิเล็กตรอนวงนอกสุดร่วมกันเพื่อให้ครบตาม[[กฎออกเตต]] (Octet's Rule) คือมี[[อิเล็กตรอนวงนอกสุด]]ครบ 8 ตัว ซึ่งยังมี[[พันธะโคเวเลนต์]]อีกชนิดหนึ่งคือ [[พันธะโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์]] (Coordinate Covalent Bond) ซึ่งเกิดจากการที่[[อะตอม]]หนึ่งให้[[อิเล็กตรอน]]ทั้ง 2 ตัวแก่อิเล็กตรอนอีกตัวหนึ่งใช้ร่วมกัน สารประกอบเหล่านี้เรียกว่า [[สารประกอบโคเวเลนต์]] (Covalent Compound)
* [[พันธะโคเวเลนต์]] (Covalent Bond) เป็นพันธะที่มีการใช้อิเล็กตรอนวงนอกสุดร่วมกันเพื่อให้ครบตาม[[กฎออกเตต]] (Octet's Rule) คือมี[[อิเล็กตรอนวงนอกสุด]]ครบ 8 ตัว ซึ่งยังมี[[พันธะโคเวเลนต์]]อีกชนิดหนึ่งคือ [[พันธะโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์]] (Coordinate Covalent Bond) ซึ่งเกิดจากการที่[[อะตอม]]หนึ่งให้[[อิเล็กตรอน]]ทั้ง 2 ตัวแก่อิเล็กตรอนอีกตัวหนึ่งใช้ร่วมกัน สารประกอบเหล่านี้เรียกว่า [[สารประกอบโคเวเลนต์]] (Covalent Compound)
* [[พันธะไอออนิก]] (Ionid Bond) เป็น[[พันธะเคมี|พันธะ]]ที่เกิดจากการเสียและรับ[[อิเล็กตรอน]]ของอะตอมและเกิดแรงทางไฟฟ้าซึ่งกันและกันระหว่าง[[ไอออนบวก]]และ[[ไอออนลบ]] เกิดเป็นโครง[[ผลึก]]ขนาดยักษ์ ไม่มี[[โมเลกุล]] ซึ่ง[[ไอออนบวก]]และ[[ไอออนลบ]]นี้จะเป็น[[อะตอม]]หรือกลุ่ม[[อะตอม]]ก็ได้ สารประกอบเหล่านี้เรียกว่า [[สารประกอบไอออนิก]] (Ionic Compound)
* [[พันธะไอออนิก]] (Ionid Bond) เป็น[[พันธะเคมี|พันธะ]]ที่เกิดจากการเสียและรับ[[อิเล็กตรอน]]ของอะตอมและเกิดแรงทางไฟฟ้าซึ่งกันและกันระหว่าง[[ไอออนบวก]]และ[[ไอออนลบ]] เกิดเป็นโครง[[ผลึก]]ขนาดยักษ์ ไม่มี[[โมเลกุล]] ซึ่ง[[ไอออนบวก]]และ[[ไอออนลบ]]นี้จะเป็น[[อะตอม]]หรือกลุ่ม[[อะตอม]]ก็ได้ สารประกอบเหล่านี้เรียกว่า [[สารประกอบไอออนิก]] (Ionic Compound)
* [[พันธะโครงผลึกร่างตาข่าย]] เป็นพันธะที่แข็งแรงที่สุด และเป็นพันธะที่ไม่มีโมเลกุล พบในสารประเภท [[ทราย]] [[คาร์โบรันดัม]] [[เพชร]] [[แกรไฟต์]] เป็นต้น
* [[พันธะโครงผลึกร่างตาข่าย]] เป็นพันธะที่แข็งแรงที่สุด และเป็นพันธะที่ไม่มีโมเลกุล พบในสารประเภท [[ทราย]] [[คาร์โบรันดัม]] [[เพชร]] [[แกรไฟต์]] เป็นต้น

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:00, 18 มีนาคม 2558

น้ำ ถือเป็นสารประกอบทางเคมีอย่างหนึ่ง

สารประกอบ เป็นสารเคมีที่เกิดจากธาตุเคมีตั้งแต่สองตัวขึ้นไปมารวมตัวกันโดย พันธะเคมีด้วยอัตราส่วนของส่วนประกอบที่แน่นอน ตัวอย่าง เช่น ไดไฮโรเจนโมน็อกไซด์ หรือ น้ำ มีสูตรเคมีคือ H2Oซึ่งเป็นสารที่ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 2 อะตอม และ ออกซิเจน 1 อะตอม

ในสารประกอบอัตราส่วนของส่วนประกอบจะต้องคงที่และตัวชี้วัดความเป็นสารประกอบที่สำคัญคือ คุณสมบัติทางกายภาพ ซึ่งจะแตกต่างจาก ของผสม (mixture) หรือ อัลลอย (alloy) เช่น ทองเหลือง (brass) ซูเปอร์คอนดักเตอร์ YBCO, สารกึ่งตัวนำ อะลูมิเนียม แกลเลียม อาร์เซไนด์ (aluminium gallium arsenide) หรือ ซ็อกโกแลต (chocolate) เพราะเราสามารถกำหนดอัตราส่วนของ ของผสมได้

ตัวกำหนดคุณลักษณะเฉพาะของสารประกอบที่สำคัญคือ สูตรเคมี (chemical formula) ซึ่งจะแสดงอัตราส่วนของอะตอมในสารประกอบนั้น ๆ และจำนวนอะตอมในโมเลกุลเดียว เช่น สูตรเคมีของ อีทีน (ethene) จะเป็นC2H4 ไม่ใช่ CH2) สูตรไม่ได้ระบุว่าสารประกอบประกอบด้วยโมเลกุล เช่น โซเดียมคลอไรด์ (เกลือแกง, NaCl) เป็น สารประกอบไอออนิก (ionic compound)

ประเภทของสารประกอบ

ประเภทสารประกอบจำแนกตามพันธะภายในสารประกอบ

ดูเพิ่ม