ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปริญญาเอก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pubat (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดทันใจด้วยสจห.
Pubat (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 5: บรรทัด 5:


== คุณสมับติผู้ศึกษา ==
== คุณสมับติผู้ศึกษา ==
สำเร็จการศึกษาปริญญามหาบัณฑิตตามสาขาวิชาที่หลักสูตรกำหนดจากสถาบันการศึกษาในประเทศหรือต่างประเทศที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนรับรอง หรือสาขาอื่นที่คณะกรรมการดุษฎีบัณฑิต<ref>http://www.dpu.ac.th/admissions/doctor/</ref>
# สำเร็จการศึกษาปริญญามหาบัณฑิตตามสาขาวิชาที่หลักสูตรกำหนดจากสถาบันการศึกษาในประเทศหรือต่างประเทศที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนรับรอง หรือสาขาอื่นที่คณะกรรมการดุษฎีบัณฑิต<ref>http://www.dpu.ac.th/admissions/doctor/</ref> หรือเทียบเท่าจากสถาบันภายในประเทศ หรือต่างประเทศที่ ก.พ.รับรอง
# ไม่มีโรคติดต่อร้ายแรง หรือโรคเป็นอุปสรรคต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
<br />
# กรณี ผู้สมัครเข้าศึกษาต่อสำเร็จการศึกษาในสาขาที่ไม่ตรง จะต้องเรียนวิชาปรับพื้นฐานของแต่ละสาขาวิชา ขึ้นอยู่กับการพิจารณาของผู้อำนวยการหลักสูตร

ผู้เข้าศึกษาต่อ จำเป็นต้องทำการทดสอบวัดผลสำฤทธิ์ภาษาต่างประเทศตามประกาศมหาวิทยาลัยนั้นๆเป็นผู้รับสมัคร เช่น CUtest KUtest หรือใช้คะแนนอื่นใด เช่น TOEIC TOFEL เป็นต้น
# ผู้เข้าศึกษาต่อ จำเป็นต้องทำการทดสอบวัดผลสำฤทธิ์ภาษาต่างประเทศตามประกาศมหาวิทยาลัยนั้นๆเป็นผู้รับสมัคร เช่น CUtest KUtest หรือใช้คะแนนอื่นใด เช่น TOEIC TOFEL เป็นต้น


== การใช้คำนำหน้า ==
== การใช้คำนำหน้า ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:39, 6 กุมภาพันธ์ 2558

ปริญญาเอก {{en:Doctorate}}เป็นชื่อเรียกนำหน้า การเรียนการสอนในมหาวิทยาลัยขั้นสูงสุด เป็นปริญญาในการศึกษาขั้นสูงสุด ที่มอบให้แก่บุคคลที่มีระดับการศึกษาที่แสดงถึงการเรียนรู้หรือการ ศึกษาซึ่งลงลึกในขอบเขตการศึกษาที่เฉพาะเจาะจงหรือในส่วนของอาชีพนั้นๆ

การเรียนการสอน

ในการเรียนปริญญาเอก เป็นการนำข้อมูลจากการเรียนทั้งตรีและโท หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง มาวิจัยและสังเกต แบ่งแยก ทั้งแบบปฏิบัติการและการอภิปรายร่วมกัน โดยจะเป็นการลงรายละเอียด ที่ขั้นสูงและแยกส่วนมากขึ้น โดยมีการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย หรือ ภาษาอังกฤษก็ได้[1]

คุณสมับติผู้ศึกษา

  1. สำเร็จการศึกษาปริญญามหาบัณฑิตตามสาขาวิชาที่หลักสูตรกำหนดจากสถาบันการศึกษาในประเทศหรือต่างประเทศที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนรับรอง หรือสาขาอื่นที่คณะกรรมการดุษฎีบัณฑิต[2] หรือเทียบเท่าจากสถาบันภายในประเทศ หรือต่างประเทศที่ ก.พ.รับรอง
  2. ไม่มีโรคติดต่อร้ายแรง หรือโรคเป็นอุปสรรคต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
  3. กรณี ผู้สมัครเข้าศึกษาต่อสำเร็จการศึกษาในสาขาที่ไม่ตรง จะต้องเรียนวิชาปรับพื้นฐานของแต่ละสาขาวิชา ขึ้นอยู่กับการพิจารณาของผู้อำนวยการหลักสูตร
  4. ผู้เข้าศึกษาต่อ จำเป็นต้องทำการทดสอบวัดผลสำฤทธิ์ภาษาต่างประเทศตามประกาศมหาวิทยาลัยนั้นๆเป็นผู้รับสมัคร เช่น CUtest KUtest หรือใช้คะแนนอื่นใด เช่น TOEIC TOFEL เป็นต้น

การใช้คำนำหน้า

ผู้จบปริญญาเอก สามารถในคำนำหน้าได้ว่า ด.ร. ด็อกเตอร์ ทับศัพท์ Doctor โดยใช้ตัวยย่อภาษาอังกฤษ Ph.D[3]

วิชาเอกที่เปิดสอนในประเทศไทย


ดูเพิ่ม

รายการอ้างอิง