ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เทนนิสออสเตรเลียนโอเพน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ahcuna (คุย | ส่วนร่วม)
PUNG191230 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}} <!-- ลิงก์อ้างอิงเสีย -->
{{ต้องการอ้างอิง}} <!-- ลิงก์อ้างอิงเสีย -->
{{รายการแกรนด์สแลม
{{รายการแกรนด์สแลม
| Name = Australian Open
| Name = ออสเตรเลียน โอเพน
| Logo = Australian_Open.jpg
| Logo = Australian_Open.jpg
| Logo size = 200px
| Logo size = 200px
| Current = 2010 Australian Open
| Current = เทนนิสออสเตรเลียนโอเพน 2015
| Bar Color = #F9D251
| Bar Color = #F9D251
| City = [[Melbourne]]
| City = [[Melbourne]]
บรรทัด 59: บรรทัด 59:
| [[เทนนิสออสเตรเลียนโอเพน 2014|2014]] || {{ธง|สวิตเซอร์แลนด์}} [[สตานิสลาส วาวรินกา]] || {{ธง|จีน}} [[หลี่ น่า]]
| [[เทนนิสออสเตรเลียนโอเพน 2014|2014]] || {{ธง|สวิตเซอร์แลนด์}} [[สตานิสลาส วาวรินกา]] || {{ธง|จีน}} [[หลี่ น่า]]
|-
|-
| [[เทนนิสออสเตรเลียนโอเพน 2015|2015]] || ||
| [[เทนนิสออสเตรเลียนโอเพน 2015|2015]] || || {{ธง|อเมริกา}} [[เซเรนา วิลเลียม]]
|}
|}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:38, 31 มกราคม 2558

ออสเตรเลียน โอเพน
ไฟล์:Australian Open.jpg
Official web
แกรนด์สแลม
Current
Current competition เทนนิสออสเตรเลียนโอเพน 2015

การแข่งขันเทนนิสออสเตรเลียนโอเพน (อังกฤษ: Australian Open) เป็นการแข่งขันเทนนิสแกรนด์สแลมรายการแรกของปี จัดขึ้นที่เมลเบิร์น พาร์ค ในนครเมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย ในช่วงเดือนมกราคม ทำการแข่งขันบนฮาร์ดคอร์ท จัดการแข่งขันเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ.1905

ลักษณะเด่นของการแข่งขันออสเตรเลียนโอเพน คือเป็นการแข่งขันในสภาพอากาศที่ร้อนอบอ้าว เนื่องจากในเดือนมกราคมเป็นฤดูร้อนของประเทศแถบซีกโลกใต้ เสมือนเป็นการทดสอบสภาพร่างกายของนักเทนนิสที่กลับจากการพักผ่อนในช่วงปิดฤดูกาล

พื้นผิวคอร์ทที่ใช้แข่งขันในตอนเริ่มต้นใช้พื้นผิวหญ้า ต่อมาเมื่อย้ายสถานที่มาที่เมลเบิร์น พาร์คในปีค.ศ.1988 จึงเปลี่ยนมาใช้พื้นผิว Rebound Ace Hardcourt ที่สร้างขึ้นจากส่วนผสมของชั้นยางและไฟเบอร์กลาส บนผิวยางมะตอยหรือคอนกรีต แมทส์ วิแลนเดอร์ เป็นนักเทนนิสคนเดียวที่ชนะเลิศได้บนสองพื้นผิวคอร์ท ในปีค.ศ.2008 จะมีการเปลี่ยนแปลงพื้นผิวที่ใช้แข่งขันเป็น Plexicushion ที่ถูกวิจารณ์ว่ามีความคล้ายคลึงกับพื้นผิวที่ใช้แข่ง ยูเอสโอเพน [1]

ออสเตรเลียนโอเพน เคยถูกย้ายไปจัดการแข่งขันในเดือนธันวาคมระหว่างปี 1977-1985 ก่อนจะย้ายกลับไปจัดในเดือนมกราคมในปี 1987 ทำให้ไม่มีการแข่งขันในปี 1986

ทำเนียบผู้ชนะเลิศในการแข่งขันประเภทชายเดี่ยวและหญิงเดี่ยวตั้งแต่ ค.ศ. 2000

ปี ค.ศ. ชายเดี่ยว หญิงเดี่ยว
2000 แม่แบบ:Country data อเมริกา อังเดร อากัสซี แม่แบบ:Country data อเมริกา ลินเซย์ ดาเวนพอร์ต
2001 แม่แบบ:Country data อเมริกา อังเดร อากัสซี แม่แบบ:Country data อเมริกา เจนนิเฟอร์ คาปริอาที
2002 สวีเดน โธมัส โจฮันส์สัน แม่แบบ:Country data อเมริกา เจนนิเฟอร์ คาปริอาที
2003 แม่แบบ:Country data อเมริกา อังเดร อากัสซี แม่แบบ:Country data อเมริกา เซเรนา วิลเลียม
2004 สวิตเซอร์แลนด์ โรเจอร์ เฟเดอเรอร์ เบลเยียม จัสติน เอแนง
2005 รัสเซีย มารัต ซาฟิน แม่แบบ:Country data อเมริกา เซเรนา วิลเลียม
2006 สวิตเซอร์แลนด์ โรเจอร์ เฟเดอเรอร์ ฝรั่งเศส อเมลี โมเรสโม
2007 สวิตเซอร์แลนด์ โรเจอร์ เฟเดอเรอร์ แม่แบบ:Country data อเมริกา เซเรนา วิลเลียม
2008 เซอร์เบีย โนวัค ยอโควิค รัสเซีย มาเรีย ชาราโปวา
2009 สเปน ราฟาเอล นาดาล แม่แบบ:Country data อเมริกา เซเรนา วิลเลียม
2010 สวิตเซอร์แลนด์ โรเจอร์ เฟเดอเรอร์ แม่แบบ:Country data อเมริกา เซเรนา วิลเลียม
2011 เซอร์เบีย โนวัค ยอโควิช เบลเยียม คิม ไคลจ์สเตอร์
2012 เซอร์เบีย โนวัค ยอโควิช เบลารุส วิคตอเรีย อซาเรนก้า
2013 เซอร์เบีย โนวัค ยอโควิช เบลารุส วิคตอเรีย อซาเรนก้า
2014 สวิตเซอร์แลนด์ สตานิสลาส วาวรินกา จีน หลี่ น่า
2015 แม่แบบ:Country data อเมริกา เซเรนา วิลเลียม

อ้างอิง

  1. Fears of second-rate US Open ข่าวจากดิออสเตรเลียน [ลิงก์เสีย]

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น