ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาสนา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
th
บรรทัด 11: บรรทัด 11:


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
มีความเชื่อว่าศาสนานั้นเกิดมาจากความต้องการเข้าใจในธรรมชาติของมนุษย์ นับแต่อดีตมนุษย์จะสงสัยว่าสิ่งต่าง ๆ เกิดขึ้นมาได้อย่างไร ทำไมต้องเกิดขึ้น จะเปลี่ยนแปลงได้หรือไม่ เปลี่ยนแปลงแล้วจะเกิดผลอะไรต่อมาอีก จนนำมาสู่การค้นหาแนวทางต่างๆเพื่อตอบปัญหาเหล่านี้ จนนำมาเป็นความเชื่อและเลื่อมใส ตัวอย่างเช่นศาสนาพุทธ เกิดจากเจ้าชายสิทธัตถะทรงเห็นความทุกข์ จึงทรงหาแนวทางให้หลุดพ้นจากความทุกข์ ด้วยวิธีการต่าง ๆ นา ๆ จนทรงค้นพบอริยสัจ 4 ด้วยวิธีที่ เป็นการฝึกจิตด้วยสติจนถึงซึ่งความรู้แจ้ง ในสรรพสิ่ง
มีความเชื่อว่าศาสนานั้นเกิดมาจากความต้องการเข้าใจในธรรมชาติของมนุษย์ นับแต่อดีตมนุษย์จะสงสัยว่าสิ่งต่าง ๆ เกิดขึ้นมาได้อย่างไร ทำไมต้องเกิดขึ้น จะเปลี่ยนแปลงได้หรือไม่ เปลี่ยนแปลงแล้วจะเกิดผลอะไรต่อไปอีก สิ่งต่างๆได้นำความคิดของผู้คนไปสู่การค้นหาแนวทางเพื่อตอบปัญหา เมื่อความรู้ที่ลุ่มลึกจากหลายผู้คนพัฒนาเป็นความเชื่อถือและเลื่อมใสอย่างยิ่ง ศาสนาจึงเกิดจุดเริ่มต้น เป็นระเบียบ บทบัญญัติ และวิธีการ ตัวอย่างเช่นศาสนาพุทธ เกิดจากเจ้าชายสิทธัตถะทรงเล็งเห็นความทุกข์ จึงทรงหาแนวทางให้หลุดพ้นจากความทุกข์ จากนั้นจึงทดลองดำเนินจิตใจและความประพฤติด้วยวิถีชีวิตในแบบต่างๆ เมื่อถึงที่สุดทรงค้นพบอริยสัจ 4 ด้วยวิธีการฝึกจิตด้วยสติจนถึงซึ่งความรู้แจ้งในสรรพสิ่ง
และความดับความทุกข์ ทรงตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าดับสิ้นซึ่งกิเลส ทรงสอนให้มนุษย์ ให้ทำบุญ รักษาศีล และภาวนา เพื่อจะได้เป็นแนวทางในการพ้นทุกข์ของมหาชน อย่างไรก็ตาม ในการศึกษาในปัจจุบัน คำอธิบายของการเกิดขึ้นและพัฒนาการของศาสนา สามารถแบ่งได้เป็นสี่กลุ่ม{{Citation needed}}
และความดับความทุกข์ ทรงตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าดับสิ้นซึ่งกิเลส แล้วจึงประทานคำสอนแก่มนุษย์ ให้สละคืนความประพฤติ และเร่งเร้าการพัฒนาจิตใจ ทรงมอบคำสอนแก่อารยชนผู้มีใจเป็นอิสระ จวบจนเกิดเป็นศาสนาเกิดขึ้น อย่างไรก็ตาม ในการศึกษาในปัจจุบัน คำอธิบายของการเกิดขึ้นและพัฒนาการของศาสนา สามารถแบ่งได้หลายกลุ่มศาสนา ตามความเป็นไปของอารยธรรมและประเพณีที่แตกต่างกัน ศาสนาอาจจำแนกการเกิดขึ้นจากเหตุปัจจัยต่างๆ ดังต่อไปนี้<ref>[http://www.udru.ac.th/website/attachments/elearning/02/14.pdf งานค้นคว้า เรื่องศาสนาและครอบครัว, โดย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี]</ref><ref>[http://www.pewforum.org/2014/04/04/global-religious-diversity/ The religious beliefs and practices of many groups]</ref>
* ศาสนาเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นจากความกลัว ในธรรมชาติที่ตนเองไม่รู้ จนต้องวิงวอนและร้องขอในสิ่งที่อยากได้
* ศาสนาที่เกิดขึ้นจากความรู้สึกหวาดกลัว มนุษย์หวาดกลัวในธรรมชาติที่ตนเองไม่รู้ จนต้องวิงวอนและร้องขอเพื่อการปฏิบัติตนอย่างสิ้นเชิงตามความพอใจ
* ศาสนาเกิดจากความไม่รู้สงสัย ในอภิปรัชญาว่าโลกเกิดขึ้นมาได้อย่างไร และจะเป็นเช่นไรต่อไป
* ศาสนาเกิดจากความไม่รู้และสงสัยในอภิปรัชญาโลก ว่า โลกเกิดขึ้นมาได้อย่างไร โลกดำรงอยู่อย่างไร และจะเป็นเช่นไรต่อไป
* ศาสนาเกิดจากความต้องการที่จะสร้างความเชื่อขึ้นมา เพื่อช่วยควบคุมความประพฤติของคนในสังคม ให้สังคมสงบสุข
* ศาสนาเกิดจากความต้องการที่จะสร้างความเปลี่ยนแปลงการอยู่ร่วมกันของกลุ่มคน โดยการเชื่อ และสมมุติในการนับถือสิ่งต่างๆขึ้นมา เพื่อช่วยควบคุมความประพฤติของคนในสังคม ให้สังคมสงบสุข
* ศาสนาเกิดจากความต้องการที่จะพ้นจากความทุกข์ เช่นความอดอยาก โรคระบาด ความแก่ ความตาย การสูญเสีย
* ศาสนาเกิดจากความต้องการที่จะพ้นจากความทุกข์และภัยพิบัติ เช่นความอดอยาก โรคระบาด ความแก่ ความตาย และการสูญเสีย


== กลุ่มศาสนา ==
== กลุ่มศาสนา ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:25, 27 ธันวาคม 2557

สัญลักษณ์ของศาสนาต่าง ๆ

ศาสนา (อังกฤษ: religion) ลัทธิความเชื่อของมนุษย์ เกี่ยวกับการกำเนิดและสิ้นสุดของโลก หลักศีลธรรม ตลอดจนลัทธิพิธีที่กระทำตามความเชื่อนั้น ๆ[1] หลายศาสนามีการบรรยาย สัญลักษณ์และประวัติศาสตร์ศักดิ์สิทธิ์ซึ่งเจตนาอธิบายความหมายของชีวิต และ/หรืออธิบายกำเนิดชีวิตหรือเอกภพ จากความเชื่อของศาสนาเกี่ยวกับจักรวาลและธรรมชาติมนุษย์ คนได้รับศีลธรรม จริยศาสตร์ กฎหมายศาสนาหรือวิถีชีวิตลำดับก่อน บางการประมาณว่า มีศาสนาราว 4,200 ศาสนาในโลก[2]

นอกจากการนับถือศาสนาแล้ว ยังมีความเชื่อไม่นับถือศาสนาด้วย เรียก "อศาสนา" (อังกฤษ: irreligion) และผู้ไม่นับถือศาสนาเรียก "อศาสนิกชน" (อังกฤษ: irreligious person)

ความหมายเชิงนิรุกติศาสตร์

สำหรับบางภาษา มีการใช้คำว่าศาสนาแตกต่างกันออกไป และบางภาษาไม่มีคำว่าศาสนาโดยสิ้นเชิง เช่นภาษาสันสกฤต คำว่า ธรรมะ (dharma) อาจใช้เทียบเคียงกับศาสนาได้ แต่มีความหมายโดยทั่วไปว่ากฎหมาย

ประวัติ

มีความเชื่อว่าศาสนานั้นเกิดมาจากความต้องการเข้าใจในธรรมชาติของมนุษย์ นับแต่อดีตมนุษย์จะสงสัยว่าสิ่งต่าง ๆ เกิดขึ้นมาได้อย่างไร ทำไมต้องเกิดขึ้น จะเปลี่ยนแปลงได้หรือไม่ เปลี่ยนแปลงแล้วจะเกิดผลอะไรต่อไปอีก สิ่งต่างๆได้นำความคิดของผู้คนไปสู่การค้นหาแนวทางเพื่อตอบปัญหา เมื่อความรู้ที่ลุ่มลึกจากหลายผู้คนพัฒนาเป็นความเชื่อถือและเลื่อมใสอย่างยิ่ง ศาสนาจึงเกิดจุดเริ่มต้น เป็นระเบียบ บทบัญญัติ และวิธีการ ตัวอย่างเช่นศาสนาพุทธ เกิดจากเจ้าชายสิทธัตถะทรงเล็งเห็นความทุกข์ จึงทรงหาแนวทางให้หลุดพ้นจากความทุกข์ จากนั้นจึงทดลองดำเนินจิตใจและความประพฤติด้วยวิถีชีวิตในแบบต่างๆ เมื่อถึงที่สุดทรงค้นพบอริยสัจ 4 ด้วยวิธีการฝึกจิตด้วยสติจนถึงซึ่งความรู้แจ้งในสรรพสิ่ง และความดับความทุกข์ ทรงตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าดับสิ้นซึ่งกิเลส แล้วจึงประทานคำสอนแก่มนุษย์ ให้สละคืนความประพฤติ และเร่งเร้าการพัฒนาจิตใจ ทรงมอบคำสอนแก่อารยชนผู้มีใจเป็นอิสระ จวบจนเกิดเป็นศาสนาเกิดขึ้น อย่างไรก็ตาม ในการศึกษาในปัจจุบัน คำอธิบายของการเกิดขึ้นและพัฒนาการของศาสนา สามารถแบ่งได้หลายกลุ่มศาสนา ตามความเป็นไปของอารยธรรมและประเพณีที่แตกต่างกัน ศาสนาอาจจำแนกการเกิดขึ้นจากเหตุปัจจัยต่างๆ ดังต่อไปนี้[3][4]

  • ศาสนาที่เกิดขึ้นจากความรู้สึกหวาดกลัว มนุษย์หวาดกลัวในธรรมชาติที่ตนเองไม่รู้ จนต้องวิงวอนและร้องขอเพื่อการปฏิบัติตนอย่างสิ้นเชิงตามความพอใจ
  • ศาสนาเกิดจากความไม่รู้และสงสัยในอภิปรัชญาโลก ว่า โลกเกิดขึ้นมาได้อย่างไร โลกดำรงอยู่อย่างไร และจะเป็นเช่นไรต่อไป
  • ศาสนาเกิดจากความต้องการที่จะสร้างความเปลี่ยนแปลงการอยู่ร่วมกันของกลุ่มคน โดยการเชื่อ และสมมุติในการนับถือสิ่งต่างๆขึ้นมา เพื่อช่วยควบคุมความประพฤติของคนในสังคม ให้สังคมสงบสุข
  • ศาสนาเกิดจากความต้องการที่จะพ้นจากความทุกข์และภัยพิบัติ เช่นความอดอยาก โรคระบาด ความแก่ ความตาย และการสูญเสีย

กลุ่มศาสนา

ศาสนาอับราฮัม

เป็นคำที่ใช้เรียกศาสนาสำคัญ 4 ศาสนาที่เป็นลัทธิเทวนิยมที่มึความเชื่อในพระเจ้าองค์เดียว —ซึ่งทั้งสี่ศาสนานับอับราฮัมเป็นส่วนหนึ่งของประวัติศาสนา

ศาสนาแบบอินเดีย

ศาสนาแบบจีน

ศาสนาแบบอิหร่าน

ศาสนาญี่ปุ่น

อ้างอิง

  1. ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว, กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 1142
  2. The Everything World's Religions Book: Explore the Beliefs, Traditions and Cultures of Ancient and Modern Religions, page 1 Kenneth Shouler - 2010
  3. งานค้นคว้า เรื่องศาสนาและครอบครัว, โดย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
  4. The religious beliefs and practices of many groups

แหล่งข้อมูลอื่น

แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link FA