ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Supanut Arunoprayote (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 29: บรรทัด 29:
</ref>
</ref>


พระยาศรีวิสารวาจา จบการศึกษา[[นิติศาสตร์]]จาก[[มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด]] บาร์ริสเตอร์มิดเดิลเทมเปิล<ref>http://web.archive.org/20080924195637/www.geocities.com/roy_bilan222/article_9-12.htm</ref> ด้วยคะแนนเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งใน[[สภากรรมการองคมนตรี]] ในรัชกาลที่ 7 และ[[องคมนตรี]] ในรัชกาลปัจจุบัน<ref>{{อ้างหนังสือ
พระยาศรีวิสารวาจา จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจาก[[โรงเรียนอัสสัมชัญ]] และระดับอุดมศึกษา คณะ[[นิติศาสตร์]]จาก[[มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด]] บาร์ริสเตอร์มิดเดิลเทมเปิล<ref>http://web.archive.org/20080924195637/www.geocities.com/roy_bilan222/article_9-12.htm</ref> ด้วยคะแนนเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งใน[[สภากรรมการองคมนตรี]] ในรัชกาลที่ 7 และ[[องคมนตรี]] ในรัชกาลปัจจุบัน<ref>{{อ้างหนังสือ
|ผู้แต่ง=จีรวัฒน์ ครองแก้ว
|ผู้แต่ง=จีรวัฒน์ ครองแก้ว
|ชื่อหนังสือ=องคมนตรี ศักดิ์ศรีแผ่นดิน
|ชื่อหนังสือ=องคมนตรี ศักดิ์ศรีแผ่นดิน

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:44, 23 ธันวาคม 2557

พระยาศรีวิสารวาจา
(หุ่น ฮุนตระกูล)
เกิด25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2439
ประเทศไทย
เสียชีวิต23 มีนาคม พ.ศ. 2511 (72 ปี)
ประเทศไทย

พันเอก พระยาศรีวิสารวาจา (หุ่น ฮุนตระกูล) (นามเดิม เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล, หุ่น ฮุนตระกูล - ในเอกสารบางแหล่ง เขียนว่า พระยาศรีวิศาลวาจา) (25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2439 - 23 มีนาคม พ.ศ. 2511) อดีตปลัดทูลฉลอง และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เป็นหนึ่งในผู้ร่างกฎหมายที่จะนำมาใช้เป็นรัฐธรรมนูญ ถวายพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ร่วมกับเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ และนายเรมอนต์ บี สตีเวนส์ ซึ่งทรงมีกำหนดที่จะพระราชทานรัฐธรรมนูญในวันสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 150 ปี ในวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2475[1]

พระยาศรีวิสารวาจา จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนอัสสัมชัญ และระดับอุดมศึกษา คณะนิติศาสตร์จากมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด บาร์ริสเตอร์มิดเดิลเทมเปิล[2] ด้วยคะแนนเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งในสภากรรมการองคมนตรี ในรัชกาลที่ 7 และองคมนตรี ในรัชกาลปัจจุบัน[3]

บทบาทในทางการเมืองเป็นสมาชิกและเป็น ส.ส. สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และบทบาทในทางวิชาการดำรงตำแหน่งเป็นอธิการบดีคนแรกของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

พระยาศรีวิสารวาจา มีเชื้อสายจีนไหหลำ มีชื่อจีนว่า ฮุ่นเซ็กเตี่ยน [4]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

  1. ทันพงษ์ รัศนานันท์. ลุงคำตัน ชีวิต / อุดมการณ์ / ความหวัง. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์เพอร์เฟคท์ พริ้นติ้ง, พ.ศ. 2550. หน้า หน้าที่. ISBN 974-94983-3-x ข้อผิดพลาดพารามิเตอร์ใน {{ISBN}}: invalid character
  2. http://web.archive.org/20080924195637/www.geocities.com/roy_bilan222/article_9-12.htm
  3. จีรวัฒน์ ครองแก้ว. องคมนตรี ศักดิ์ศรีแผ่นดิน. กรุงเทพ : มูลนิธิทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประเทศ, พ.ศ. 2550. 269 หน้า. หน้า หน้าที่. ISBN 978-974-7362-09-1
  4. http://www.thaihainan.org/wizContent.asp?wizConID=95&txtmMenu_ID=42
  5. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์, เล่ม ๗๐, ตอน ๑๐ ง, ๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๙๖, หน้า ๕๒๙


ก่อนหน้า พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล) ถัดไป
- ไฟล์:CMU Logo.png
อธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
(21 เมษายน พ.ศ. 2507 - 1 มิถุนายน พ.ศ. 2509)
สุนทร หงส์ลดารมภ์
สุนทร หงส์ลดารมภ์ ไฟล์:CMU Logo.png
อธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
(10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2511 - 23 มีนาคม พ.ศ. 2511)
พลตำรวจเอก ประเสริฐ รุจิรวงศ์