ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดปทุมคงคาราชวรวิหาร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เทพกร (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
| type_of_place = พระอารามหลวง ชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร
| type_of_place = พระอารามหลวง ชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร
| branch = มหานิกาย
| branch = มหานิกาย
| abbot = [[พระพรหมเสนาบดี (พิมพ์ ญาณวีโร)]]
| special_things =
| special_things =
| principal_buddha =
| principal_buddha =
บรรทัด 30: บรรทัด 31:
| local_attraction =
| local_attraction =
| footnote =
| footnote =
| website = http://www.watpathumkongka.org/home.php
}}
}}


'''วัดปทุมคงคาราชวรวิหาร''' เป็น[[พระอารามหลวง]]ชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร ตั้งอยู่ริมฝั่ง[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] ฝั่งพระนคร [[ถนนทรงวาด]]ติดต่อกับถนน[[สำเพ็ง]] แขวงสัมพันธวงศ์ [[เขตสัมพันธวงศ์]] [[กรุงเทพมหานคร]] เดิมชื่อวัดสำเพ็ง ตามชื่อถนนหน้าวัด ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 1 พระราชทานนามใหม่ว่า “วัดปทุมคงคา”
'''วัดปทุมคงคาราชวรวิหาร''' เป็น[[พระอารามหลวง]]ชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร ตั้งอยู่ริมฝั่ง[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] ฝั่งพระนคร [[ถนนทรงวาด]]ติดต่อกับถนน[[สำเพ็ง]] แขวงสัมพันธวงศ์ [[เขตสัมพันธวงศ์]] [[กรุงเทพมหานคร]] เดิมชื่อวัดสำเพ็ง ตามชื่อถนนหน้าวัด ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 1 พระราชทานนามใหม่ว่า “วัดปทุมคงคา”


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
วัดปทุมคงคาราชวรวิหาร เป็นวัดที่มีมาตั้งแต่[[กรุงศรีอยุธยา]] [[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]]เมื่อครั้งแรกสร้างกรุงรัตนโกสินทร์ โปรดเกล้าฯ ให้[[พระยาธรรมาธิกรณ์ (บุญรอด บุณยรัตนพันธ์)]] กับ[[พระวิจิตรนาวี]] เป็นแม่กองคุมช่างและไพร่ไปกะที่สร้างพระนครใหม่ ณ ฝั่งตะวันออก โปรดเกล้าฯ ให้พระยาราชาเศรษฐี และพวกคนจีน ย้ายไปตั้งบ้านเรือนอยู่ที่สวน ตั้งแต่คลองวัดสามปลื้ม ([[วัดจักรวรรดิราชาวาส]]) ไปจนถึงคลองวัดสำเพ็ง (วัดปทุมคงคา) และเห็นว่าเป็นวัดโบราณที่ทรุดโทรมมาก สมเด็จพระอนุชาธิราชเจ้า [[กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท]] จึงได้โปรดเกล้า ฯ ให้ซ่อมแซมขึ้นใหม่ทั้งวัด เมื่อกรมพระราชวังบวรสุรมหาสิงหนาททรงปฏิสังขรณ์และสร้างเสร็จแล้ว พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก จึงพระราชทานนามใหม่ว่า “วัดปทุมคงคา”
วัดปทุมคงคาราชวรวิหาร เป็นวัดที่มีมาตั้งแต่สมัย[[อาณาจักรอยุธยา]] [[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]]เมื่อครั้งแรกสร้างกรุงรัตนโกสินทร์ โปรดเกล้าฯ ให้[[เจ้าพระยาศรีธรรมาธิราช (บุญรอด บุณยรัตพันธุ์)|พระยาธรรมาธิกรณ์ (บุญรอด บุณยรัตนพันธ์)]] กับ[[พระวิจิตรนาวี]] เป็นแม่กองคุมช่างและไพร่ไปกะที่สร้างพระนครใหม่ ณ ฝั่งตะวันออก โปรดเกล้าฯ ให้พระยาราชาเศรษฐี และพวกคนจีน ย้ายไปตั้งบ้านเรือนอยู่ที่สวน ตั้งแต่คลองวัดสามปลื้ม ([[วัดจักรวรรดิราชาวาส]]) ไปจนถึงคลองวัดสำเพ็ง (วัดปทุมคงคา) และเห็นว่าเป็นวัดโบราณที่ทรุดโทรมมาก [[สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท]]จึงได้โปรดเกล้า ฯ ให้ซ่อมแซมขึ้นใหม่ทั้งวัด เมื่อกรมพระราชวังบวรสุรมหาสิงหนาททรงปฏิสังขรณ์และสร้างเสร็จแล้ว พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก จึงพระราชทานนามใหม่ว่า “วัดปทุมคงคา”


จนในสมัย[[รัชกาลที่ 3]] ที่วัดเริ่มทรุดโทรมอีกครั้ง พระยาสวัสดิวารีได้กราบทูลขอทำการบูรณปฏิสังขรณ์ แต่บูรณปฏิสังขรณ์ยังไม่ทันเสร็จ พระยาสวัสดิวารีก็ได้ถึงแก่อนิจกรรมเสียก่อน แต่ไม่มีผู้ใดรับบูรณปฏิสังขรณ์ต่อไปตลอดรัชกาลที่ 3 ครั้งถึงสมัย[[รัชกาลที่ 4]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระยาพิศาลศุภผล ทำการบูรณปฏิสังขรณ์ต่อ และได้เพิ่มเติม โดยให้ช่างยกพระพุทธรูปในพระอุโบสถให้สูงขึ้น มีพระทรงเครื่องต้นอย่างกษัตริย์ ต่อ[[ชุกชี]]ออกมา ทำเป็นรูปเทวราชถือพุ่มฉัตรดอกไม้ทอง ดอกไม้เงินด้วย 2 องค์<ref>[http://www.watpathumkongka.com/html/history.html ประวัติการสร้างวัด]</ref>
จนในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ที่วัดเริ่มทรุดโทรมอีกครั้ง พระยาสวัสดิวารีได้กราบทูลขอทำการบูรณปฏิสังขรณ์ แต่บูรณปฏิสังขรณ์ยังไม่ทันเสร็จ พระยาสวัสดิวารีก็ได้ถึงแก่อนิจกรรมเสียก่อน แต่ไม่มีผู้ใดรับบูรณปฏิสังขรณ์ต่อไปตลอดรัชกาลที่ 3 ครั้งถึงสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระยาพิศาลศุภผล ทำการบูรณปฏิสังขรณ์ต่อ และได้เพิ่มเติม โดยให้ช่างยกพระพุทธรูปในพระอุโบสถให้สูงขึ้น มีพระทรงเครื่องต้นอย่างกษัตริย์ ต่อ[[ชุกชี]]ออกมา ทำเป็นรูปเทวราชถือพุ่มฉัตรดอกไม้ทอง ดอกไม้เงินด้วย 2 องค์<ref>[http://www.watpathumkongka.com/html/history.html ประวัติการสร้างวัด]</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
บรรทัด 43: บรรทัด 45:


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.watpathumkongka.com เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ]
* [http://www.watpathumkongka.org/home.php เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ]


[[หมวดหมู่:พระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร|ปทุมคงคาราชวรวิหาร]]
{{เรียงลำดับ|ปทุมคงคาราชวรวิหาร}}
[[หมวดหมู่:วัดในเขตสัมพันธวงศ์|ปทุมคงคาราชวรวิหาร]]
[[หมวดหมู่:พระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร]]
[[หมวดหมู่:วัดไทยในสังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย]]
[[หมวดหมู่:วัดในเขตสัมพันธวงศ์]]
{{โครงวัดไทย}}
{{โครงวัดไทย}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:57, 9 ธันวาคม 2557

วัดปทุมคงคาราชวรวิหาร
ไฟล์:โลโก้วัดปทุมคงคา.gif
แผนที่
ที่ตั้งแขวงสัมพันธวงศ์ เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร
ประเภทพระอารามหลวง ชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร
นิกายมหานิกาย
เจ้าอาวาสพระพรหมเสนาบดี (พิมพ์ ญาณวีโร)
เว็บไซต์http://www.watpathumkongka.org/home.php
พระพุทธศาสนา ส่วนหนึ่งของสารานุกรมพระพุทธศาสนา

วัดปทุมคงคาราชวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งพระนคร ถนนทรงวาดติดต่อกับถนนสำเพ็ง แขวงสัมพันธวงศ์ เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร เดิมชื่อวัดสำเพ็ง ตามชื่อถนนหน้าวัด ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 1 พระราชทานนามใหม่ว่า “วัดปทุมคงคา”

ประวัติ

วัดปทุมคงคาราชวรวิหาร เป็นวัดที่มีมาตั้งแต่สมัยอาณาจักรอยุธยา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชเมื่อครั้งแรกสร้างกรุงรัตนโกสินทร์ โปรดเกล้าฯ ให้พระยาธรรมาธิกรณ์ (บุญรอด บุณยรัตนพันธ์) กับพระวิจิตรนาวี เป็นแม่กองคุมช่างและไพร่ไปกะที่สร้างพระนครใหม่ ณ ฝั่งตะวันออก โปรดเกล้าฯ ให้พระยาราชาเศรษฐี และพวกคนจีน ย้ายไปตั้งบ้านเรือนอยู่ที่สวน ตั้งแต่คลองวัดสามปลื้ม (วัดจักรวรรดิราชาวาส) ไปจนถึงคลองวัดสำเพ็ง (วัดปทุมคงคา) และเห็นว่าเป็นวัดโบราณที่ทรุดโทรมมาก สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทจึงได้โปรดเกล้า ฯ ให้ซ่อมแซมขึ้นใหม่ทั้งวัด เมื่อกรมพระราชวังบวรสุรมหาสิงหนาททรงปฏิสังขรณ์และสร้างเสร็จแล้ว พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก จึงพระราชทานนามใหม่ว่า “วัดปทุมคงคา”

จนในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่วัดเริ่มทรุดโทรมอีกครั้ง พระยาสวัสดิวารีได้กราบทูลขอทำการบูรณปฏิสังขรณ์ แต่บูรณปฏิสังขรณ์ยังไม่ทันเสร็จ พระยาสวัสดิวารีก็ได้ถึงแก่อนิจกรรมเสียก่อน แต่ไม่มีผู้ใดรับบูรณปฏิสังขรณ์ต่อไปตลอดรัชกาลที่ 3 ครั้งถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระยาพิศาลศุภผล ทำการบูรณปฏิสังขรณ์ต่อ และได้เพิ่มเติม โดยให้ช่างยกพระพุทธรูปในพระอุโบสถให้สูงขึ้น มีพระทรงเครื่องต้นอย่างกษัตริย์ ต่อชุกชีออกมา ทำเป็นรูปเทวราชถือพุ่มฉัตรดอกไม้ทอง ดอกไม้เงินด้วย 2 องค์[1]

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น