ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร"

พิกัด: 18°48′19″N 98°55′18″E / 18.8052°N 98.9216°E / 18.8052; 98.9216
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
| type_of_place = [[พระอารามหลวง]] ชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร
| type_of_place = [[พระอารามหลวง]] ชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร
| branch = [[เถรวาท]] [[มหานิกาย]]
| branch = [[เถรวาท]] [[มหานิกาย]]
| abbot = [[พระธรรมเสนาบดี (ธงชัย สุวณฺณสิริ)]]
| special_things =
| special_things =
| principal_buddha =
| principal_buddha =
| important_buddha =
| important_buddha =
| pre_road =
| pre_road =
| road_name = ถ.ศรีวิชัย
| road_name = ถ. ศรีวิชัย
| sub_district = [[ตำบลสุเทพ]]
| sub_district = [[ตำบลสุเทพ]]
| district = [[อำเภอเมืองเชียงใหม่|อำเภอเมือง]]
| district = [[อำเภอเมืองเชียงใหม่|อำเภอเมือง]]
บรรทัด 33: บรรทัด 34:
}}
}}


'''วัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร''' ({{lang-nod|[[ไฟล์:LN-Wat Phra That Doi Suthep.png|180px]]}}) เป็นพระอารามหลวง ชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร ตั้งอยู่บนยอด [[ดอยสุเทพ]] เป็นหนึ่งในวัดที่มีความสำคัญมากที่สุดของ[[จังหวัดเชียงใหม่]] ในวัดมีเจดีย์ทรงเชียงแสน ฐานสูงย่อมุมระฆังทรงแปดเหลี่ยมปิดด้วยทองจังโก 2 ชั้น ลานเจดีย์เป็นจุดชมทิวทัศน์เมืองเชียงใหม่ ทางขึ้นเป็นบันไดนาคเจ็ดเศียรก่อปูน
'''วัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร''' ({{lang-nod|[[ไฟล์:LN-Wat Phra That Doi Suthep.png|180px]]}}) เป็น[[พระอารามหลวง]] ชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร ตั้งอยู่บนยอด[[ดอยสุเทพ]] เป็นหนึ่งในวัดที่มีความสำคัญมากที่สุดของ[[จังหวัดเชียงใหม่]] ก่อสร้างตามแบบศิลปะล้านนา มีเจดีย์ทรงเชียงแสน ฐานสูงย่อมุมระฆังทรงแปดเหลี่ยมปิดด้วยทองจังโก 2 ชั้น ลานเจดีย์เป็นจุดชมทิวทัศน์เมืองเชียงใหม่ ทางขึ้นเป็นบันไดนาคเจ็ดเศียรก่อปูน เจ้าอาวาสรูปปัจจุบันคือ[[พระธรรมเสนาบดี (ธงชัย สุวณฺณสิริ)]]

วัดพระธาตุดอยสุเทพเป็นวัดสำคัญในจังหวัดเชียงใหม่ ก่อสร้างตามแบบศิลปะล้านนา
== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
[[ไฟล์:ดอยสุเทพ 1910-1920.jpg|thumb|300px|left|บันไดนาค วัดพระธาตุดอยสุเทพฯ ระหว่างปี พ.ศ. 2453 - 2463]]
[[ไฟล์:ดอยสุเทพ 1910-1920.jpg|thumb|300px|left|บันไดนาค วัดพระธาตุดอยสุเทพฯ ระหว่างปี พ.ศ. 2453 - 2463]]


'''วัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร''' สร้างขึ้นเมื่อปี [[พ.ศ. 1929]] ในสมัย[[พญากือนา]] กษัตริย์องค์ที่ 6 แห่ง[[อาณาจักรล้านนา]] [[ราชวงศ์มังราย]] พระองค์ทรงได้อัญเชิญ[[พระบรมสารีริกธาตุ]]องค์ใหญ่ ที่ได้ทรงเก็บไว้สักการบูชาส่วนพระองค์ถึง 13 ปี มาบรรจุไว้ที่นี่ ด้วยการทรงอธิษฐานเสี่ยงช้างมงคลเพื่อเสี่ยงทายสถานที่ประดิษฐาน พอช้างมงคลเดินมาถึงยอดดอยสุเทพ มันก็ร้องสามครั้ง พร้อมกับทำ[[ทักษิณาวัตร]]สามรอบ แล้วล้มลง พระองค์จึงโปรดเกล้าฯให้ขุดดินลึก 8 ศอก กว้าง 6 วา 3 ศอก หาแท่นหินใหญ่ 6 แท่น มาวางเป็นรูปหีบใหญ่ในหลุม แล้วอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุลงประดิษฐานไว้ จากนั้นถมด้วยหิน แล้วก่อพระเจดีย์สูง 5 วา ครอบบนนั้น ด้วยเหตุนี้จึงห้ามพุทธศาสนิกชนที่ไปนมัสการสวมรองเท้าใน บริเวณพระธาตุ และมิให้สตรีเข้าไปบริเวณนั้น
'''วัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร''' สร้างขึ้นเมื่อปี [[พ.ศ. 1929]] ในสมัย[[พญากือนา]] กษัตริย์องค์ที่ 6 แห่ง[[อาณาจักรล้านนา]] [[ราชวงศ์มังราย]] พระองค์ทรงได้อัญเชิญ[[พระบรมสารีริกธาตุ]]องค์ใหญ่ ที่ได้ทรงเก็บไว้สักการบูชาส่วนพระองค์ถึง 13 ปี มาบรรจุไว้ที่นี่ ด้วยการทรงอธิษฐานเสี่ยงช้างมงคลเพื่อเสี่ยงทายสถานที่ประดิษฐาน พอช้างมงคลเดินมาถึงยอดดอยสุเทพ มันก็ร้องสามครั้ง พร้อมกับทำ[[ประทักษิณ]]สามรอบ แล้วล้มลง พระองค์จึงโปรดเกล้าฯให้ขุดดินลึก 8 ศอก กว้าง 6 วา 3 ศอก หาแท่นหินใหญ่ 6 แท่น มาวางเป็นรูปหีบใหญ่ในหลุม แล้วอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุลงประดิษฐานไว้ จากนั้นถมด้วยหิน แล้วก่อพระเจดีย์สูง 5 วา ครอบบนนั้น ด้วยเหตุนี้จึงห้ามพุทธศาสนิกชนที่ไปนมัสการสวมรองเท้าใน บริเวณพระธาตุ และมิให้สตรีเข้าไปบริเวณนั้น
ในปี [[พ.ศ. 2081]] สมัย[[พระเมืองเกษเกล้า]] กษัตริย์องค์ที่ 12 ได้โปรดฯให้เสริมพระเจดีย์ให้สูงกว่าเดิม เป็นกว้าง 6 วา สูง 11 ศอก พร้อมทั้งให้ช่างนำทองคำทำเป็นรูปดอกบัวทองใส่บนยอดเจดีย์ และต่อมาเจ้าท้าวทรายคำ ราชโอรสได้ทรงให้ตีทองคำเป็นแผ่นติดที่พระบรมธาตุ
ในปี [[พ.ศ. 2081]] สมัย[[พระเมืองเกษเกล้า]] กษัตริย์องค์ที่ 12 ได้โปรดฯให้เสริมพระเจดีย์ให้สูงกว่าเดิม เป็นกว้าง 6 วา สูง 11 ศอก พร้อมทั้งให้ช่างนำทองคำทำเป็นรูปดอกบัวทองใส่บนยอดเจดีย์ และต่อมาเจ้าท้าวทรายคำ ราชโอรสได้ทรงให้ตีทองคำเป็นแผ่นติดที่พระบรมธาตุ


บรรทัด 72: บรรทัด 73:
{{พระธาตุประจำปีเกิด}}
{{พระธาตุประจำปีเกิด}}


[[หมวดหมู่:พระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร|พระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร]]
{{เรียงลำดับ|พระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร}}
[[หมวดหมู่:วัดในจังหวัดเชียงใหม่|พระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร]]
[[หมวดหมู่:พระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร]]
[[หมวดหมู่:วัดในจังหวัดเชียงใหม่]]
[[หมวดหมู่:วัดไทยในสังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย]]
[[หมวดหมู่:วัดพระธาตุ|ด]]
[[หมวดหมู่:วัดพระธาตุ|ด]]
[[หมวดหมู่:พระธาตุประจำปีเกิด|ด]]
[[หมวดหมู่:พระธาตุประจำปีเกิด|ด]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:32, 6 ธันวาคม 2557

วัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร
พระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร
แผนที่
ชื่อสามัญวัดพระธาตุดอยสุเทพ พระธาตุดอยสุเทพ ดอยสุเทพ
ที่ตั้งถ. ศรีวิชัย ตำบลสุเทพ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
ประเภทพระอารามหลวง ชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร
นิกายเถรวาท มหานิกาย
เจ้าอาวาสพระธรรมเสนาบดี (ธงชัย สุวณฺณสิริ)
เว็บไซต์www.doisuthep.com
พระพุทธศาสนา ส่วนหนึ่งของสารานุกรมพระพุทธศาสนา

วัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร (ไทยถิ่นเหนือ: ) เป็นพระอารามหลวง ชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร ตั้งอยู่บนยอดดอยสุเทพ เป็นหนึ่งในวัดที่มีความสำคัญมากที่สุดของจังหวัดเชียงใหม่ ก่อสร้างตามแบบศิลปะล้านนา มีเจดีย์ทรงเชียงแสน ฐานสูงย่อมุมระฆังทรงแปดเหลี่ยมปิดด้วยทองจังโก 2 ชั้น ลานเจดีย์เป็นจุดชมทิวทัศน์เมืองเชียงใหม่ ทางขึ้นเป็นบันไดนาคเจ็ดเศียรก่อปูน เจ้าอาวาสรูปปัจจุบันคือพระธรรมเสนาบดี (ธงชัย สุวณฺณสิริ)

ประวัติ

ไฟล์:ดอยสุเทพ 1910-1920.jpg
บันไดนาค วัดพระธาตุดอยสุเทพฯ ระหว่างปี พ.ศ. 2453 - 2463

วัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 1929 ในสมัยพญากือนา กษัตริย์องค์ที่ 6 แห่งอาณาจักรล้านนา ราชวงศ์มังราย พระองค์ทรงได้อัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุองค์ใหญ่ ที่ได้ทรงเก็บไว้สักการบูชาส่วนพระองค์ถึง 13 ปี มาบรรจุไว้ที่นี่ ด้วยการทรงอธิษฐานเสี่ยงช้างมงคลเพื่อเสี่ยงทายสถานที่ประดิษฐาน พอช้างมงคลเดินมาถึงยอดดอยสุเทพ มันก็ร้องสามครั้ง พร้อมกับทำประทักษิณสามรอบ แล้วล้มลง พระองค์จึงโปรดเกล้าฯให้ขุดดินลึก 8 ศอก กว้าง 6 วา 3 ศอก หาแท่นหินใหญ่ 6 แท่น มาวางเป็นรูปหีบใหญ่ในหลุม แล้วอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุลงประดิษฐานไว้ จากนั้นถมด้วยหิน แล้วก่อพระเจดีย์สูง 5 วา ครอบบนนั้น ด้วยเหตุนี้จึงห้ามพุทธศาสนิกชนที่ไปนมัสการสวมรองเท้าใน บริเวณพระธาตุ และมิให้สตรีเข้าไปบริเวณนั้น ในปี พ.ศ. 2081 สมัยพระเมืองเกษเกล้า กษัตริย์องค์ที่ 12 ได้โปรดฯให้เสริมพระเจดีย์ให้สูงกว่าเดิม เป็นกว้าง 6 วา สูง 11 ศอก พร้อมทั้งให้ช่างนำทองคำทำเป็นรูปดอกบัวทองใส่บนยอดเจดีย์ และต่อมาเจ้าท้าวทรายคำ ราชโอรสได้ทรงให้ตีทองคำเป็นแผ่นติดที่พระบรมธาตุ

ในปี พ.ศ. 2100 พระมหาญาณมงคลโพธิ์ วัดอโศการาม เมืองลำพูนได้สร้างบันไดนาคหลวงทั้ง 2 ข้าง เพื่อให้ประชาชนขึ้นไปสักการะได้สะดวกขึ้น และกระทั่งถึงสมัยครูบาศรีวิชัย ท่านได้สร้างถนนขึ้นไป โดยถนนที่สร้างนี้มีความยาวถึง 11.53 กิโลเมตร

การประกาศขึ้นทะเบียนโบราณสถาน

วัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร ได้รับการประกาศเป็นโบราณสถานสำหรับชาติ ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 52 ตอนที่ 0ง วันที่ 8 มีนาคม 2478 พร้อมกับวัดอีกหลายแห่งในจังหวัดเชียงใหม่ [1]

ภาพภายในวัด

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

18°48′19″N 98°55′18″E / 18.8052°N 98.9216°E / 18.8052; 98.9216