ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฟรัสตัม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 10: บรรทัด 10:
::<math>V = \left | \frac{1}{3} h_1 B_1 - \frac{1}{3} h_2 B_2 \right |</math>
::<math>V = \left | \frac{1}{3} h_1 B_1 - \frac{1}{3} h_2 B_2 \right |</math>
เมื่อ ''h<sub>1</sub>'' และ ''h<sub>2</sub>'' เป็นความสูงจากระนาบทั้งสองขึ้นไปยังยอดเดิมของพีระมิดหรือทรงกรวย
เมื่อ ''h<sub>1</sub>'' และ ''h<sub>2</sub>'' เป็นความสูงจากระนาบทั้งสองขึ้นไปยังยอดเดิมของพีระมิดหรือทรงกรวย

== ดูเพิ่ม ==
* [[ฟรัสตัมคู่]] (bifrustum)


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:31, 26 พฤษภาคม 2550

ฟรัสตัมห้าเหลี่ยม

ฟรัสตัม (อังกฤษ: frustum, พหูพจน์: frusta) คือรูปทรงเรขาคณิตที่เป็นส่วนหนึ่งของพีระมิดหรือทรงกรวย โดยการตัดด้วยระนาบสองระนาบที่ขนานกัน ฟรัสตัมที่มีฐานเป็นรูปหลายเหลี่ยม (polygon) สามารถจัดได้เป็นพริสมาทอยด์ (prismatoid) ชนิดหนึ่ง และหน้าตัด (ฐาน) ทั้งสองจะเป็นรูปที่ได้สัดส่วนกัน

ปริมาตร

ปริมาตรของฟรัสตัม V สามารถหาได้จากสูตร

เมื่อ h คือความสูงของฟรัสตัม และ B1 กับ B2 คือพื้นที่ผิวบนฐานทั้งสองด้าน

แต่ก็ยังมีอีกสูตรหนึ่ง ซึ่งใช้คำนวณปริมาตรก่อนการตัดพีระมิดหรือกรวยให้เป็นฟรัสตัม ดังนี้

เมื่อ h1 และ h2 เป็นความสูงจากระนาบทั้งสองขึ้นไปยังยอดเดิมของพีระมิดหรือทรงกรวย

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น