ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ล้อตุนกำลัง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
Roonie.02 ย้ายหน้า ล้อช่วยแรง ไปยัง ล้อตุนกำลัง: [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ขาดอ้างอิง}}
{{ขาดอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Volin.jpg|thumb|ล้อช่วยแรงในทางอุตสาหกรรม]]
[[ไฟล์:Volin.jpg|thumb|ล้อตุนกำลังในทางอุตสาหกรรม]]


'''ล้อช่วยแรง'''เป็นอุปกรณ์ที่หมุนได้ในทางเชิงกลที่ใช้ในการเก็บ[[พลังงานที่เกิดขี้นจากการหมุน]]ของมัน ล้อช่วยแรงมีส่วนสำคัญต่อ[[โมเมนต์ความเฉื่อย]]และดังนั้นจึงต่อต้านการเปลี่ยนแปลงอัตราเร็วในการหมุน ปริมาณของพลังงานที่ถูกเก็บไว้ในล้อช่วยแรงเป็นสัดส่วนกับกำลังสองของ[[อัตราเร็วในการหมุน]]ของมัน พลังงานถูกถ่ายโอนไปยังล้อช่วยแรงได้โดยการใช้แรงบิดมันจึงช่วยเพิ่มอัตราเร็วในการหมุนของมันและถูกเปลี่ยนเป็นพลังงานเก็บสะสมเอาไว้ด้วยเหตุนี้ ตรงกันข้ามล้อช่วยแรงจะปลดปล่อยพลังงานที่เก็บไว้ได้โดยการใช้แรงบิดต่อโหลดหรือภาระทางกลจึงช่วยลดอัตราเร็วในการหมุนของมันได้
'''ล้อตุนกำลัง''' ({{lang-en|Flywheel}}) เป็นอุปกรณ์เชิงกลที่หมุนได้, มันถูกใช้ในการเก็บ[[พลังงานที่เกิดขี้นจากการหมุน]]. ล้อตุนกำลังมี[[โมเมนต์ความเฉื่อย]]อย่างมีนัยสำคัญซึ่งต่อต้านการเปลี่ยนแปลงของความเร็วในการหมุน. ปริมาณของพลังงานที่ถูกเก็บไว้ในล้อตุนกำลังเป็นสัดส่วนกับกำลังสองของ[[ความเร็วในการหมุน]]ของมัน. พลังงานจะถูกถ่ายโอนไปยังล้อตุนกำลังได้โดยการใส่แรงบิด ({{lang-en|torque}}) ให้กับมัน, ซึ่งเป็นการเพิ่มความเร็วในการหมุนของมันและด้วยเหตุนี้จึงเป็นการเพิ่มการสะสมพลังงาน. ในทางตรงกันข้าม ล้อตุนกำลังจะปลดปล่อยพลังงานที่เก็บไว้ได้โดยการให้แรงบิดต่อโหลดหรือภาระทางกล, ซึ่งเป็นการลดความเร็วในการหมุนของมัน.

การนำไปประยุกต์ใช้โดยทั่วไปของล้อตุนกำลัง ได้แก่:
* การจ่ายพลังงานอย่างต่อเนื่องเมื่อแหล่งพลังงานถูกปลดออกไป. ตัวอย่างเช่น flywheels ถูกนำมาใช้ในเครื่องยนต์ลูกสูบเพราะแหล่งพลังงาน, แรงบิดจากเครื่องยนต์, มาเป็นระยะๆ.
* การส่งมอบพลังงานในอัตราที่เกินความสามารถของแหล่งพลังงานต่อเนื่อง. นี่สามารถทำสำเร็จได้โดยการจัดเก็บพลังงานในล้อตุนกำลังตลอดเวลาแล้วปล่อยพลังงานนั้นอย่างรวดเร็ว, ในอัตราที่เกินความสามารถของแหล่งพลังงานนั้น.
* การควบคุมทิศทางของระบบกลไก. ในการใช้งานดังกล่าว, 'โมเมนตัมเชิงมุม'ของล้อตุนกำลังจะถูกโอนไปยังโหลดเมื่อพลังงานถูกโอนไปยังหรือจากล้อตุนกำลัง

Flywheels มักจะทำจากเหล็กและหมุนบนแบริ่งธรรมดา; พวกมันจะถูกจำกัดโดยทั่วไปให้มีอัตราการหมุนเพียงไม่กี่พันรอบต่อนาที<ref name="BBC">[http://www.bbc.com/future/story/20120629-reinventing-the-wheel]; "Flywheels move from steam age technology to Formula 1"; Jon Stewart | 1 July 2012, retrieved 2012-07-03</ref>. บาง flywheels ที่ทันสมัยถูกจากวัสดุคาร์บอนไฟเบอร์และใช้แบริ่งแม่เหล็กที่ทำให้พวกมันจะหมุนที่ความเร็วสูงถึง 60,000 รอบต่อนาที<ref name ="Kinergy">[http://www.ricardo.com/en-GB/News--Media/Press-releases/News-releases1/2011/Breakthrough-in-Ricardo-Kinergy-second-generation-high-speed-flywheel-technology/], "Breakthrough in Ricardo Kinergy ‘second generation’ high-speed flywheel technology"; Press release date: 22 August 2011. retrieved 2012-07-03</ref>.

[[File:P307.jpg|thumb|flywheel ในเครื่องรถยนต์ที่ทันสมัย]]

แบตเตอรี่ล้อตุนกำลังทำจากคาร์บอนคอมโพสิตได้รับการผลิตเมื่อเร็วๆนี้และได้รับการพิสูจน์ว่าสามารถทำงานได้ในการทดสอบการใช้งานจริงในรถยนต์ทั่วไป. นอกจากนี้ การกำจัดพวกมันหลังหมดอายุใช้งานก็เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม<ref>http://www.popularmechanics.com/technology/engineering/news/10-tech-concepts-you-need-to-know-for-2012-2</ref>.

==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}


{{โครงฟิสิกส์}}
{{โครงฟิสิกส์}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:47, 18 พฤศจิกายน 2557

ล้อตุนกำลังในทางอุตสาหกรรม

ล้อตุนกำลัง (อังกฤษ: Flywheel) เป็นอุปกรณ์เชิงกลที่หมุนได้, มันถูกใช้ในการเก็บพลังงานที่เกิดขี้นจากการหมุน. ล้อตุนกำลังมีโมเมนต์ความเฉื่อยอย่างมีนัยสำคัญซึ่งต่อต้านการเปลี่ยนแปลงของความเร็วในการหมุน. ปริมาณของพลังงานที่ถูกเก็บไว้ในล้อตุนกำลังเป็นสัดส่วนกับกำลังสองของความเร็วในการหมุนของมัน. พลังงานจะถูกถ่ายโอนไปยังล้อตุนกำลังได้โดยการใส่แรงบิด (อังกฤษ: torque) ให้กับมัน, ซึ่งเป็นการเพิ่มความเร็วในการหมุนของมันและด้วยเหตุนี้จึงเป็นการเพิ่มการสะสมพลังงาน. ในทางตรงกันข้าม ล้อตุนกำลังจะปลดปล่อยพลังงานที่เก็บไว้ได้โดยการให้แรงบิดต่อโหลดหรือภาระทางกล, ซึ่งเป็นการลดความเร็วในการหมุนของมัน.

การนำไปประยุกต์ใช้โดยทั่วไปของล้อตุนกำลัง ได้แก่:

  • การจ่ายพลังงานอย่างต่อเนื่องเมื่อแหล่งพลังงานถูกปลดออกไป. ตัวอย่างเช่น flywheels ถูกนำมาใช้ในเครื่องยนต์ลูกสูบเพราะแหล่งพลังงาน, แรงบิดจากเครื่องยนต์, มาเป็นระยะๆ.
  • การส่งมอบพลังงานในอัตราที่เกินความสามารถของแหล่งพลังงานต่อเนื่อง. นี่สามารถทำสำเร็จได้โดยการจัดเก็บพลังงานในล้อตุนกำลังตลอดเวลาแล้วปล่อยพลังงานนั้นอย่างรวดเร็ว, ในอัตราที่เกินความสามารถของแหล่งพลังงานนั้น.
  • การควบคุมทิศทางของระบบกลไก. ในการใช้งานดังกล่าว, 'โมเมนตัมเชิงมุม'ของล้อตุนกำลังจะถูกโอนไปยังโหลดเมื่อพลังงานถูกโอนไปยังหรือจากล้อตุนกำลัง

Flywheels มักจะทำจากเหล็กและหมุนบนแบริ่งธรรมดา; พวกมันจะถูกจำกัดโดยทั่วไปให้มีอัตราการหมุนเพียงไม่กี่พันรอบต่อนาที[1]. บาง flywheels ที่ทันสมัยถูกจากวัสดุคาร์บอนไฟเบอร์และใช้แบริ่งแม่เหล็กที่ทำให้พวกมันจะหมุนที่ความเร็วสูงถึง 60,000 รอบต่อนาที[2].

flywheel ในเครื่องรถยนต์ที่ทันสมัย

แบตเตอรี่ล้อตุนกำลังทำจากคาร์บอนคอมโพสิตได้รับการผลิตเมื่อเร็วๆนี้และได้รับการพิสูจน์ว่าสามารถทำงานได้ในการทดสอบการใช้งานจริงในรถยนต์ทั่วไป. นอกจากนี้ การกำจัดพวกมันหลังหมดอายุใช้งานก็เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม[3].

อ้างอิง

  1. [1]; "Flywheels move from steam age technology to Formula 1"; Jon Stewart | 1 July 2012, retrieved 2012-07-03
  2. [2], "Breakthrough in Ricardo Kinergy ‘second generation’ high-speed flywheel technology"; Press release date: 22 August 2011. retrieved 2012-07-03
  3. http://www.popularmechanics.com/technology/engineering/news/10-tech-concepts-you-need-to-know-for-2012-2