ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เต่าร้าง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
PAHs (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
'''เต่าร้าง''' {{ชื่อวิทยาศาสตร์| Caryota urens}} เป็นพืชในวงศ์ [[Palmae]] เป็นปาล์มต้นเดี่ยว ขนาดใหญ่ ไม่มีหนาม ปล้องบนลำต้นยาว แผ่นใบเป็นร่องรูปตัว V ใบประกอบแบบขนนก 2 ชั้น ก้านใบยาวขนาดใหญ่ ออกดอกแล้วตาย ดอกช่อแยกเพศ ผลสุกสีแดง พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่[[ศรีลังกา]] [[อินเดีย]] ตอนใต้ของ[[จีน]] [[ไทย]]และ[[เวียดนาม]]
'''เต่าร้าง''' {{ชื่อวิทยาศาสตร์| Caryota urens}} เป็นพืชในวงศ์ [[Palmae]] เป็นปาล์มต้นเดี่ยว ขนาดใหญ่ ไม่มีหนาม ปล้องบนลำต้นยาว แผ่นใบเป็นร่องรูปตัว V ใบประกอบแบบขนนก 2 ชั้น ก้านใบยาวขนาดใหญ่ ออกดอกแล้วตาย ดอกช่อแยกเพศ ผลสุกสีแดง พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่[[ศรีลังกา]] [[อินเดีย]] ตอนใต้ของ[[จีน]] [[ไทย]]และ[[เวียดนาม]]


เนื้อไม้ใช้ประโยชน์ในการก่อสร้าง และทำเครื่องมือทางการเกษตร เป็นไม้ประดับ ช่อดอกปาดเอาน้ำหวานมาผลิต[[น้ำตาล]]ได้ ใบใช้มุงหลังคา ทำเชือก ยอดอ่อนต้มรับประทานได้ ทางภาคใต้นำยอดนำมาต้มกะทิกับกุ้ง<ref>. เมฆานี จงบุญเจือ และสมพิศ คลี่ขยาย. อาหารปักษ์ใต้ บ้าบ๋า ย่าหยาในอันดามัน. กทม. เศรษฐศิลป์ 2556</ref>
เนื้อไม้ใช้ประโยชน์ในการก่อสร้าง และทำเครื่องมือทางการเกษตร เป็นไม้ประดับ ช่อดอกปาดเอาน้ำหวานมาผลิต[[น้ำตาล]]ได้ ใบใช้มุงหลังคา ทำเชือก ยอดอ่อนต้มรับประทานได้ ทางภาคใต้นำยอดนำมาต้มกะทิกับกุ้ง<ref>. เมฆานี จงบุญเจือ และสมพิศ คลี่ขยาย. อาหารปักษ์ใต้ บ้าบ๋า ย่าหยาในอันดามัน. กทม. เศรษฐศิลป์ 2556</ref>ขนที่ผลเมื่อถูกผิวหนัง ทำให้เกิดผื่นแดงและคัน<ref>เศรษฐมนตร์ กาญจนกุล. ไม้มีพิษ. กทม. เศรษฐศิลป์. 2552</ref>


[[ไฟล์:Caryota urens 0005.jpg|thumb|left|200px|'ผลเต่าร้างดิบ]]
[[ไฟล์:Caryota urens 0005.jpg|thumb|left|200px|'ผลเต่าร้างดิบ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:37, 27 ตุลาคม 2557

เต่าร้าง
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Plantae
ไม่ได้จัดลำดับ: Angiosperms
ไม่ได้จัดลำดับ: Monocots
ไม่ได้จัดลำดับ: Commelinids
อันดับ: Arecales
วงศ์: Arecaceae
สกุล: Caryota
สปีชีส์: C.  urens
ชื่อทวินาม
Caryota urens
L.
'ต้นเต่าร้าง

เต่าร้าง ชื่อวิทยาศาสตร์: Caryota urens เป็นพืชในวงศ์ Palmae เป็นปาล์มต้นเดี่ยว ขนาดใหญ่ ไม่มีหนาม ปล้องบนลำต้นยาว แผ่นใบเป็นร่องรูปตัว V ใบประกอบแบบขนนก 2 ชั้น ก้านใบยาวขนาดใหญ่ ออกดอกแล้วตาย ดอกช่อแยกเพศ ผลสุกสีแดง พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ศรีลังกา อินเดีย ตอนใต้ของจีน ไทยและเวียดนาม

เนื้อไม้ใช้ประโยชน์ในการก่อสร้าง และทำเครื่องมือทางการเกษตร เป็นไม้ประดับ ช่อดอกปาดเอาน้ำหวานมาผลิตน้ำตาลได้ ใบใช้มุงหลังคา ทำเชือก ยอดอ่อนต้มรับประทานได้ ทางภาคใต้นำยอดนำมาต้มกะทิกับกุ้ง[1]ขนที่ผลเมื่อถูกผิวหนัง ทำให้เกิดผื่นแดงและคัน[2]

'ผลเต่าร้างดิบ
เบียร์หมักจากน้ำตาลเต่าร้าง

อ้างอิง

  • พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ และคณะ. ทรัพยากรพืชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 9: พืชให้คาร์โบไฮเดรตที่ไม่ใช่เมล็ด. กทม. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย. 2544. หน้า 84 - 86
  1. . เมฆานี จงบุญเจือ และสมพิศ คลี่ขยาย. อาหารปักษ์ใต้ บ้าบ๋า ย่าหยาในอันดามัน. กทม. เศรษฐศิลป์ 2556
  2. เศรษฐมนตร์ กาญจนกุล. ไม้มีพิษ. กทม. เศรษฐศิลป์. 2552

แหล่งข้อมูลอื่น