ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nanticha.1412 (คุย | ส่วนร่วม)
เนื้อหา วงโคจร องค์ประกอบ ผลงานของกล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{สั้นมาก}}
{{สั้นมาก}}
'''กล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์''' ({{lang-en|Spitzer Space Telescope}}) หรือเดิมชื่อ Space Infrared Telescope Facility (SIRTF) เป็นกล้องสังเกตการณ์อวกาศ[[อินฟราเรด]] เป็นกล้องอันดับที่สี่และสุดท้ายของ[[โครงการหอดูดาวเอก]]ของ[[นาซา]] ตั้งชื่อตาม ดร. [[ไลแมน สปิตเซอร์ จูเนียร์]] หนึ่งในนักดาราศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่คนหนึ่งในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ซึ่งเป็นผู้เสนอให้ติดตั้งกล้องโทรทรรศน์ไว้ในอวกาศเป็นคนแรกตั้งแต่กลางคริสต์ทศวรรษ 1940 เพื่อขจัดปัญหาการรบกวนของชั้นบรรยากาศโลก ซึ่งจะทำให้ได้ภาพที่ชัดเจนกว่าการตั้งกล้องไว้บนพื้นโลก โดยเขาใช้เวลากว่า 50 ปี จึงสามารถผลักดันแนวคิดนี้ได้สำเร็จ กล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์ขึ้นสู่อวกาศเมื่อวันที่ [[25 สิงหาคม]] [[ค.ศ. 2003]] ด้วยจรวดเดลต้า 2 จากแหลมคานาวารัล มีการตั้งเป้าหมายการใช้งานของกล้องนี้ราว 2-3 ปี



'''กล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์''' ({{lang-en|Spitzer Space Telescope}}) ชื่อเดิมคือ Space Infrared Telescope Facility หรือ SIRTF ถูกเปลี่ยนชื่อเพราะชื่อเดิมอ่านยากเกินไป สปิตเซอร์เป็นกล้องสังเกตการณ์อวกาศ[[อินฟราเรด]] เป็นกล้องอันดับที่สี่และอันดับสุดท้ายของ[[โครงการหอดูดาวเอก]]ของ[[องค์การนาซา]] ตั้งชื่อตาม [[ดร. ไลแมน สปิตเซอร์ จูเนียร์]] หนึ่งในนักดาราศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่คนหนึ่งในศตวรรษที่ 20 ซึ่งเป็นผู้เสนอให้ติดตั้งกล้องโทรทรรศน์ไว้ในอวกาศเป็นคนแรกตั้งแต่ช่วงกลางยุคคริสต์ทศวรรษ 1940 เพื่อขจัดปัญหาการรบกวนของชั้นบรรยากาศโลก ซึ่งจะทำให้ได้ภาพที่ชัดเจนกว่าการตั้งกล้องไว้บนพื้นโลก โดยเขาใช้เวลากว่า 50 ปี จึงสามารถผลักดันแนวคิดนี้ได้สำเร็จ กล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์ขึ้นสู่อวกาศเมื่อวันที่ [[25 สิงหาคม]] [[ค.ศ. 2003]] ด้วยจรวดเดลต้า II จากแหลมคานาวารัล มีการตั้งเป้าหมายการใช้งานของกล้องนี้ราว 2-3 ปี
==วงโครจรของกล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์==
==วงโครจรของกล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์==
สปิตเซอร์มี[[วงโคจร]]เป็นแบบ Heliocentric ซึ่งโคจรตามโลกไปรอบ ๆ [[ดวงอาทิตย์]]ใช้เวลา 1 ปี
สปิตเซอร์มี[[วงโคจร]]เป็นแบบ Heliocentric ซึ่งโคจรตามโลกไปรอบ ๆ [[ดวงอาทิตย์]]ใช้เวลา 1 ปี

==ส่วนประกอบของกล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์==
==ส่วนประกอบของกล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์==
ตัวกล้องของสปิตเซอร์เป็น[[กระจก]]ขนาด 85 เซนติเมตร ความยาวโฟกัส 10.20 เมตร ทำด้วย beryllium และหล่อเย็นด้วย[[ฮีเลียม]]เหลวให้มีอุณหภูมิอยู่ที่ 5.5 องศาเคลวินตลอดเวลา ตัวกล้องมีน้ำหนักรวม 960 กิโลกรัม ประกอบด้วยเครื่องมือสำคัญ 3 ชิ้นคือ
ตัวกล้องของสปิตเซอร์เป็น[[กระจก]]ขนาด 85 เซนติเมตร ความยาวโฟกัส 10.20 เมตร ทำด้วย beryllium และหล่อเย็นด้วย[[ฮีเลียม]]เหลวให้มีอุณหภูมิอยู่ที่ 5.5 องศาเคลวินตลอดเวลา ตัวกล้องมีน้ำหนักรวม 960 กิโลกรัม ประกอบด้วยเครื่องมือสำคัญ 3 ชิ้นคือ


[[File:SIRTFmirror.jpg|thumb|กระจกของกล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์]]
[[ไฟล์:SIRTFmirror.jpg|thumb|กระจกของกล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์]]
# IRAC (Infrared Array Camera) เป็นชุดของ sensor ย่าน Infrared ใน 4 ความยาวคลื่นคือ 3.6 ไมโครเมตร, 4.5 ไมโครเมตร, 5.8 ไมโครเมตร และ 8 ไมโครเมตร ใช้ sensor ขนาด 256 x 256 pixel โดยมีฮีเลี่ยมเหลวหล่อเย็นที่อุณหภูมิ -250 องศา C
<br />
1. IRAC (Infrared Array Camera) เป็นชุดของ sensor ย่าน Infrared ใน 4 ความยาวคลื่นคือ 3.6 ไมโครเมตร, 4.5 ไมโครเมตร, 5.8 ไมโครเมตร และ 8 ไมโครเมตร ใช้ sensor ขนาด 256 x 256 pixel โดยมีฮีเลี่ยมเหลวหล่อเย็นที่อุณหภูมิ -250 องศา C
# IRS (Infrared Spectrograph) เป็นชุดวิเคราะห์ spectrum ย่าน Infrared ความยาวคลื่นระหว่าง 5 - 38 ไมโครเมตร
# MIPS (Multiband Imaging Photometer for Spitzer) เป็นชุด sensor Infrared ย่านความยาวคลื่น 24 - 160 ไมโครเมตร
<br />
2. IRS (Infrared Spectrograph) เป็นชุดวิเคราะห์ spectrum ย่าน Infrared ความยาวคลื่นระหว่าง 5 - 38 ไมโครเมตร
<br />
3. MIPS (Multiband Imaging Photometer for Spitzer) เป็นชุด sensor Infrared ย่านความยาวคลื่น 24 - 160 ไมโครเมตร



==ผลงานของกล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์==
==ผลงานของกล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์==
ผลงานชิ้นแรกคือภาพที่ส่งมาเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2546 สร้างความตื่นตาตื่นใจให้นักวิทยาศาสตร์เป็นอย่างมาก โดยภาพที่เด่นที่สุดคือ กาแล็กซีรูปเกลียว M 81 ซึ่งอยู่ทางเหนือของกลุ่มดาวหมีใหญ่ ไกลจากโลก 12 ล้านปีแสง กล้องอวกาศสปิตเซอร์เผยให้เห็นวงแขนที่สวยงามของ M 81 มันเป็นภาพที่แสดงให้เห็นถึงความสามารถของกล้องอวกาศสปิตเซอร์ ที่ทำการสำรวจใน[[อวกาศ]]ที่ถูกปกคลุมด้วยกลุ่มก๊าซที่หนาแน่น ในบริเวณที่กล้องโทรทรรศน์แสงไม่สามารถมองเห็นได้ มันทำให้เห็นการก่อกำเนิดของ[[ดาวฤกษ์]] และเห็นใจกลางของ[[กาแล็กซี]]
ผลงานชิ้นแรกคือภาพที่ส่งมาเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2546 ภาพที่เด่นที่สุดคือ ดาราจักรรูปเกลียว [[M 81]] ซึ่งอยู่ทางเหนือของ[[กลุ่มดาวหมีใหญ่]] ไกลจากโลก 12 ล้านปีแสง แสดงความสามารถของกล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์ในการถ่ายภาพ[[อวกาศ]]ที่ถูกปกคลุมด้วยกลุ่มก๊าซที่หนาแน่นซึ่งกล้องโทรทรรศน์แสงไม่สามารถมองเห็นได้ ทำให้เห็นการก่อกำเนิดของ[[ดาวฤกษ์]]และเห็นใจกลางของ[[ดาราจักร]]
<br />
เนื่องจาก Spitzer เป็นกล้องที่เน้นสำรวจแหล่งกำเนิด Infrared ดังนั้น Spitzer จึงมักใช้สำรวจวัตถุอุณหภูมิต่ำเช่น spectrum ของแสงจากวัตถุประเภทดาวเคราะห์ หรือระบบดาว extrasolar planets
ตัวอย่างการค้นพบที่สำคัญคือ การค้นพบองค์ประกอบ[[ไอน้ำ]]บน[[ดาวเคราะห์]] HD 209458 b โดยใช้
sensor Infrared ย่าน 7.5 - 13.2 ไมโครเมตร
[[File:M81 wide Galex.jpg|thumb|กาแล็กซีรูปเกลียว M 81 ]]


เนื่องจาก Spitzer เป็นกล้องที่เน้นสำรวจแหล่งกำเนิดอินฟราเรด ดังนั้น Spitzer จึงมักใช้สำรวจวัตถุอุณหภูมิต่ำเช่น สเปกตรัมของแสงจากวัตถุประเภทดาวเคราะห์ หรือระบบดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ ตัวอย่างการค้นพบที่สำคัญคือ การค้นพบองค์ประกอบ[[ไอน้ำ]]บน[[ดาวเคราะห์]] HD 209458 b โดยใช้เครื่องรับรู้อินฟราเรดย่าน 7.5 - 13.2 ไมโครเมตร


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
* [[กล้องโทรทรรศน์อวกาศ]]
* [[กล้องโทรทรรศน์อวกาศ]]
* [[ดาราศาสตร์อินฟราเรด]]
* [[ดาราศาสตร์อินฟราเรด]]

== อ้างอิง ==
* http://www.darasart.com/spacetelescope/sst.html
* http://thaiastro.nectec.or.th/news/2003/news2003dec04.html


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
บรรทัด 42: บรรทัด 38:
{{Link FA|cs}}
{{Link FA|cs}}
{{Link FA|sk}}
{{Link FA|sk}}

== อ้างอิง ==
<ref> http://www.darasart.com/spacetelescope/sst.html </ref>
<ref> http://thaiastro.nectec.or.th/news/2003/news2003dec04.html </ref>
<ref>http://www.scimath.org/socialnetwork/groups/viewbulletin/2479-%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87
</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:52, 17 ตุลาคม 2557

กล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์ (อังกฤษ: Spitzer Space Telescope) หรือเดิมชื่อ Space Infrared Telescope Facility (SIRTF) เป็นกล้องสังเกตการณ์อวกาศอินฟราเรด เป็นกล้องอันดับที่สี่และสุดท้ายของโครงการหอดูดาวเอกของนาซา ตั้งชื่อตาม ดร. ไลแมน สปิตเซอร์ จูเนียร์ หนึ่งในนักดาราศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่คนหนึ่งในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ซึ่งเป็นผู้เสนอให้ติดตั้งกล้องโทรทรรศน์ไว้ในอวกาศเป็นคนแรกตั้งแต่กลางคริสต์ทศวรรษ 1940 เพื่อขจัดปัญหาการรบกวนของชั้นบรรยากาศโลก ซึ่งจะทำให้ได้ภาพที่ชัดเจนกว่าการตั้งกล้องไว้บนพื้นโลก โดยเขาใช้เวลากว่า 50 ปี จึงสามารถผลักดันแนวคิดนี้ได้สำเร็จ กล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์ขึ้นสู่อวกาศเมื่อวันที่ 25 สิงหาคม ค.ศ. 2003 ด้วยจรวดเดลต้า 2 จากแหลมคานาวารัล มีการตั้งเป้าหมายการใช้งานของกล้องนี้ราว 2-3 ปี

วงโครจรของกล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์

สปิตเซอร์มีวงโคจรเป็นแบบ Heliocentric ซึ่งโคจรตามโลกไปรอบ ๆ ดวงอาทิตย์ใช้เวลา 1 ปี

ส่วนประกอบของกล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์

ตัวกล้องของสปิตเซอร์เป็นกระจกขนาด 85 เซนติเมตร ความยาวโฟกัส 10.20 เมตร ทำด้วย beryllium และหล่อเย็นด้วยฮีเลียมเหลวให้มีอุณหภูมิอยู่ที่ 5.5 องศาเคลวินตลอดเวลา ตัวกล้องมีน้ำหนักรวม 960 กิโลกรัม ประกอบด้วยเครื่องมือสำคัญ 3 ชิ้นคือ

กระจกของกล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์
  1. IRAC (Infrared Array Camera) เป็นชุดของ sensor ย่าน Infrared ใน 4 ความยาวคลื่นคือ 3.6 ไมโครเมตร, 4.5 ไมโครเมตร, 5.8 ไมโครเมตร และ 8 ไมโครเมตร ใช้ sensor ขนาด 256 x 256 pixel โดยมีฮีเลี่ยมเหลวหล่อเย็นที่อุณหภูมิ -250 องศา C
  2. IRS (Infrared Spectrograph) เป็นชุดวิเคราะห์ spectrum ย่าน Infrared ความยาวคลื่นระหว่าง 5 - 38 ไมโครเมตร
  3. MIPS (Multiband Imaging Photometer for Spitzer) เป็นชุด sensor Infrared ย่านความยาวคลื่น 24 - 160 ไมโครเมตร

ผลงานของกล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์

ผลงานชิ้นแรกคือภาพที่ส่งมาเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2546 ภาพที่เด่นที่สุดคือ ดาราจักรรูปเกลียว M 81 ซึ่งอยู่ทางเหนือของกลุ่มดาวหมีใหญ่ ไกลจากโลก 12 ล้านปีแสง แสดงความสามารถของกล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์ในการถ่ายภาพอวกาศที่ถูกปกคลุมด้วยกลุ่มก๊าซที่หนาแน่นซึ่งกล้องโทรทรรศน์แสงไม่สามารถมองเห็นได้ ทำให้เห็นการก่อกำเนิดของดาวฤกษ์และเห็นใจกลางของดาราจักร

เนื่องจาก Spitzer เป็นกล้องที่เน้นสำรวจแหล่งกำเนิดอินฟราเรด ดังนั้น Spitzer จึงมักใช้สำรวจวัตถุอุณหภูมิต่ำเช่น สเปกตรัมของแสงจากวัตถุประเภทดาวเคราะห์ หรือระบบดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ ตัวอย่างการค้นพบที่สำคัญคือ การค้นพบองค์ประกอบไอน้ำบนดาวเคราะห์ HD 209458 b โดยใช้เครื่องรับรู้อินฟราเรดย่าน 7.5 - 13.2 ไมโครเมตร

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link FA