ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เฟ็นรีร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดแม่แบบเรียงลำดับ
Naraht (คุย | ส่วนร่วม)
clean up, replaced: John Hopkins University → Johns Hopkins University using AWB
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Kampf der untergehenden Götter by F. W. Heine.jpg|thumb|300px|เฟนรีร์กำลังต่อสู้กับโอดินในภาพ "Kampf der untergehenden Götter" หรือ "การยุทธ์ของเทพผู้ถูกตัดสินไว้แล้ว"]]
[[ไฟล์:Kampf der untergehenden Götter by F. W. Heine.jpg|thumb|300px|เฟนรีร์กำลังต่อสู้กับโอดินในภาพ "Kampf der untergehenden Götter" หรือ "การยุทธ์ของเทพผู้ถูกตัดสินไว้แล้ว"]]
ใน[[ตำนานเทพเจ้าสแกนดิเนเวีย]] '''หมาป่าเฟนรีร์''' ([[ภาษานอร์สโบราณ]] '''Fenrir''': "ผู้อาศัยใน[[บึง]]เลน"<ref name=ORCHARD42>Orchard (1997:42).</ref> '''Fenrisúlfr''': "[[หมาป่า]]เฟนรีร์"<ref name=SIMEK81>Simek (2007:81).</ref> '''Hróðvitnir''': "หมาป่าที่เลื่องลือ"<ref name=SIMEK160>Simek (2007:160).</ref> หรือ '''Vánagandr''': "อสูรกายแห่งแม่น้ำวาน"<ref name=SIMEK350>Simek (2007:350).</ref>) เป็นหมาป่าขนาดมหึมา มีตัวตนอยู่ใน[[บทกวีเอ็ดดา]] (Poetic Edda) ที่เรียบเรียงในคริสต์ศตวรรษที่ 13 จากต้นฉบับโบราณ และร้อยแก้ว[[เอ็ดดา]] (Prose Edda) และ [[ฮีมสกรินก์กา]] (Heimskringla) ที่เขียนขึ้นในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 13 โดยสนอร์รี สเทอร์ลิวซัน (Snorri Sturluson) ทั้งในบทกวีเอ็ดดาและมหากาพย์เอ็ดดาเฟนรีร์เป็นหนึ่งในบุตรของ[[โลกิ]] เป็นบิดาแห่งหมาป่า[[สกอลล์]] (Sköll) และ[[ฮาตี]] (Hati Hróðvitnisson) เป็นหนึ่งในลางบอกเหตุที่จะทำให้เกิดวัน[[แร็กนาร็อก]]
ใน[[ตำนานเทพเจ้าสแกนดิเนเวีย]] '''หมาป่าเฟนรีร์''' ([[ภาษานอร์สโบราณ]] '''Fenrir''': "ผู้อาศัยใน[[บึง]]เลน"<ref name=ORCHARD42>Orchard (1997:42).</ref> '''Fenrisúlfr''': "[[หมาป่า]]เฟนรีร์"<ref name=SIMEK81>Simek (2007:81).</ref> '''Hróðvitnir''': "หมาป่าที่เลื่องลือ"<ref name=SIMEK160>Simek (2007:160).</ref> หรือ '''Vánagandr''': "อสูรกายแห่งแม่น้ำวาน"<ref name=SIMEK350>Simek (2007:350).</ref>) เป็นหมาป่าขนาดมหึมา มีตัวตนอยู่ใน[[บทกวีเอ็ดดา]] (Poetic Edda) ที่เรียบเรียงในคริสต์ศตวรรษที่ 13 จากต้นฉบับโบราณ และร้อยแก้ว[[เอ็ดดา]] (Prose Edda) และ [[ฮีมสกรินก์กา]] (Heimskringla) ที่เขียนขึ้นในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 13 โดยสนอร์รี สเทอร์ลิวซัน (Snorri Sturluson) ทั้งในบทกวีเอ็ดดาและมหากาพย์เอ็ดดาเฟนรีร์เป็นหนึ่งในบุตรของ[[โลกิ]] เป็นบิดาแห่งหมาป่า[[สกอลล์]] (Sköll) และ[[ฮาตี]] (Hati Hróðvitnisson) เป็นหนึ่งในลางบอกเหตุที่จะทำให้เกิดวัน[[แร็กนาร็อก]]


หมาป่าตนนี้เจริญเติบโตขึ้นทุกวันกลายเป็นหมาป่าที่ดุร้ายและมีกำลังมหาศาล [[โอดิน]]จึงสั่งให้พันธนาการเฟนรีร์ไว้ด้วยริบบิ้นไกลพ์นิร์ของเหล่าคนแคระที่แข็งแกร่งเหนือสิ่งอื่นใด เมื่อเหล่าเทพ[[แอซิร์]]จะหลอกพันธนาการเฟนริร์ มันเรียกร้องให้เหล่าเทพพิสูจน์ความบริสุทธิ์ใจโดยการวางมือลงในปากของมัน เทพ[[ทิร์]]อาสาทำหน้าที่นี้ เมื่อเฟนริร์เห็นว่าตนเองโดนหลอกและไม่สามารถดิ้นหลุดจากโซ่ได้จึงกัดมือของทิร์ขาด จากคำทำนายในวันแร็กนาร็อก เฟนริร์จะหลุดออกมาได้ และสังหารโอดิน แต่ในเวลาต่อมาเฟนริร์จะถูก[[วีดาร์]] หนึ่งในบุตรของโอดินสังหาร หมาป่าเฟนริร์เป็นการสะท้อนความเชื่อ และความรู้สึกอย่างหนึ่งของชาวไวกิ้งที่มองเห็นเหล่าหมาป่าเป็นศัตรูเป็นปีศาจร้าย นอกเหนือจากเหล่ายักษ์น้ำแข็ง (หิมะและหน้าหนาว) และยักษ์เพลิง (ภูเขาไฟ)
หมาป่าตนนี้เจริญเติบโตขึ้นทุกวันกลายเป็นหมาป่าที่ดุร้ายและมีกำลังมหาศาล [[โอดิน]]จึงสั่งให้พันธนาการเฟนรีร์ไว้ด้วยริบบิ้นไกลพ์นิร์ของเหล่าคนแคระที่แข็งแกร่งเหนือสิ่งอื่นใด เมื่อเหล่าเทพ[[แอซิร์]]จะหลอกพันธนาการเฟนริร์ มันเรียกร้องให้เหล่าเทพพิสูจน์ความบริสุทธิ์ใจโดยการวางมือลงในปากของมัน เทพ[[ทิร์]]อาสาทำหน้าที่นี้ เมื่อเฟนริร์เห็นว่าตนเองโดนหลอกและไม่สามารถดิ้นหลุดจากโซ่ได้จึงกัดมือของทิร์ขาด จากคำทำนายในวันแร็กนาร็อก เฟนริร์จะหลุดออกมาได้ และสังหารโอดิน แต่ในเวลาต่อมาเฟนริร์จะถูก[[วีดาร์]] หนึ่งในบุตรของโอดินสังหาร หมาป่าเฟนริร์เป็นการสะท้อนความเชื่อ และความรู้สึกอย่างหนึ่งของชาวไวกิ้งที่มองเห็นเหล่าหมาป่าเป็นศัตรูเป็นปีศาจร้าย นอกเหนือจากเหล่ายักษ์น้ำแข็ง (หิมะและหน้าหนาว) และยักษ์เพลิง (ภูเขาไฟ)
บรรทัด 10: บรรทัด 10:
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Fenrir}}
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Fenrir}}
{{refbegin}}
{{refbegin}}
* Meyer Schapiro, "Cain's Jaw-Bone that Did the First Murder", Selected Papers, volume 3, Late Antique, Early Christian and Mediaeval Art, 1980, pp. 264, note 66, Chatto & Windus, London, ISBN 0701125144 JSTOR
* Meyer Schapiro, "Cain's Jaw-Bone that Did the First Murder", Selected Papers, volume 3, Late Antique, Early Christian and Mediaeval Art, 1980, pp.&nbsp;264, note 66, Chatto & Windus, London, ISBN 0701125144 JSTOR
* Dronke, Ursula (Trans.) (1997). ''The Poetic Edda: Volume II: Mythological Poems''. [[Oxford University Press]]. ISBN 0198111819
* Dronke, Ursula (Trans.) (1997). ''The Poetic Edda: Volume II: Mythological Poems''. [[Oxford University Press]]. ISBN 0198111819
* Faulkes, Anthony (Trans.) (1995). ''Edda''. [[Everyman's Library|Everyman]]. ISBN 0-4608-7616-3
* Faulkes, Anthony (Trans.) (1995). ''Edda''. [[Everyman's Library|Everyman]]. ISBN 0-4608-7616-3
บรรทัด 19: บรรทัด 19:
* Orchard, Andy (1997). ''Dictionary of Norse Myth and Legend''. [[Orion Publishing Group|Cassell]]. ISBN 0-304-34520-2
* Orchard, Andy (1997). ''Dictionary of Norse Myth and Legend''. [[Orion Publishing Group|Cassell]]. ISBN 0-304-34520-2
* {{Cite book |last=Pluskowski |first=Aleks |authorlink= |editor-last=Bildhauer |editor-first=Bettina |editor2-last=Mills |editor2-first=Robert |contribution=Apocalyptic Monsters: Animal Inspirations for the Iconography of Medieval Northern Devourers |title=The Monstrous Middle Ages |publisher=[[University of Toronto Press]] |date=2004 |location= |pages=155–176 |url=http://books.google.com/?id=5M7JElJtK8AC&printsec=frontcover&q |isbn=0-8020-8667-5}}
* {{Cite book |last=Pluskowski |first=Aleks |authorlink= |editor-last=Bildhauer |editor-first=Bettina |editor2-last=Mills |editor2-first=Robert |contribution=Apocalyptic Monsters: Animal Inspirations for the Iconography of Medieval Northern Devourers |title=The Monstrous Middle Ages |publisher=[[University of Toronto Press]] |date=2004 |location= |pages=155–176 |url=http://books.google.com/?id=5M7JElJtK8AC&printsec=frontcover&q |isbn=0-8020-8667-5}}
* Puhvel, Jaan (1998). ''Comparative Mythology''. The John Hopkins University Press. ISBN 0-8018-3413-9
* Puhvel, Jaan (1998). ''Comparative Mythology''. The Johns Hopkins University Press. ISBN 0-8018-3413-9
* {{Cite book |last=Richards |first=Julian D. |authorlink= | editor-last=Hunter |editor-first=John |editor2-last=Ralston |editor2-first=Ian |contribution=The Scandinavian Presence |title=The Archaeology of Britain: An Introduction from the Upper Palaeolithic to the Industrial Revolution |publisher=[[Routledge]] |date=1999 |location= |pages=194–209 |url=http://books.google.com/?id=SkaqGT0wLk4C&printsec=frontcover&q |isbn=0-415-13587-7}}
* {{Cite book |last=Richards |first=Julian D. |authorlink= | editor-last=Hunter |editor-first=John |editor2-last=Ralston |editor2-first=Ian |contribution=The Scandinavian Presence |title=The Archaeology of Britain: An Introduction from the Upper Palaeolithic to the Industrial Revolution |publisher=[[Routledge]] |date=1999 |location= |pages=194–209 |url=http://books.google.com/?id=SkaqGT0wLk4C&printsec=frontcover&q |isbn=0-415-13587-7}}
* [[Rundata|Rundata 2.0 for Windows]].
* [[Rundata|Rundata 2.0 for Windows]].
บรรทัด 26: บรรทัด 26:
{{refend}}
{{refend}}


[[หมวดหมู่:เทพปกรณัมนอร์ส]]
{{โครงความเชื่อ}}
{{โครงความเชื่อ}}

[[หมวดหมู่:เทพปกรณัมนอร์ส]]

{{Link GA|en}}
{{Link GA|en}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:46, 14 ตุลาคม 2557

เฟนรีร์กำลังต่อสู้กับโอดินในภาพ "Kampf der untergehenden Götter" หรือ "การยุทธ์ของเทพผู้ถูกตัดสินไว้แล้ว"

ในตำนานเทพเจ้าสแกนดิเนเวีย หมาป่าเฟนรีร์ (ภาษานอร์สโบราณ Fenrir: "ผู้อาศัยในบึงเลน"[1] Fenrisúlfr: "หมาป่าเฟนรีร์"[2] Hróðvitnir: "หมาป่าที่เลื่องลือ"[3] หรือ Vánagandr: "อสูรกายแห่งแม่น้ำวาน"[4]) เป็นหมาป่าขนาดมหึมา มีตัวตนอยู่ในบทกวีเอ็ดดา (Poetic Edda) ที่เรียบเรียงในคริสต์ศตวรรษที่ 13 จากต้นฉบับโบราณ และร้อยแก้วเอ็ดดา (Prose Edda) และ ฮีมสกรินก์กา (Heimskringla) ที่เขียนขึ้นในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 13 โดยสนอร์รี สเทอร์ลิวซัน (Snorri Sturluson) ทั้งในบทกวีเอ็ดดาและมหากาพย์เอ็ดดาเฟนรีร์เป็นหนึ่งในบุตรของโลกิ เป็นบิดาแห่งหมาป่าสกอลล์ (Sköll) และฮาตี (Hati Hróðvitnisson) เป็นหนึ่งในลางบอกเหตุที่จะทำให้เกิดวันแร็กนาร็อก

หมาป่าตนนี้เจริญเติบโตขึ้นทุกวันกลายเป็นหมาป่าที่ดุร้ายและมีกำลังมหาศาล โอดินจึงสั่งให้พันธนาการเฟนรีร์ไว้ด้วยริบบิ้นไกลพ์นิร์ของเหล่าคนแคระที่แข็งแกร่งเหนือสิ่งอื่นใด เมื่อเหล่าเทพแอซิร์จะหลอกพันธนาการเฟนริร์ มันเรียกร้องให้เหล่าเทพพิสูจน์ความบริสุทธิ์ใจโดยการวางมือลงในปากของมัน เทพทิร์อาสาทำหน้าที่นี้ เมื่อเฟนริร์เห็นว่าตนเองโดนหลอกและไม่สามารถดิ้นหลุดจากโซ่ได้จึงกัดมือของทิร์ขาด จากคำทำนายในวันแร็กนาร็อก เฟนริร์จะหลุดออกมาได้ และสังหารโอดิน แต่ในเวลาต่อมาเฟนริร์จะถูกวีดาร์ หนึ่งในบุตรของโอดินสังหาร หมาป่าเฟนริร์เป็นการสะท้อนความเชื่อ และความรู้สึกอย่างหนึ่งของชาวไวกิ้งที่มองเห็นเหล่าหมาป่าเป็นศัตรูเป็นปีศาจร้าย นอกเหนือจากเหล่ายักษ์น้ำแข็ง (หิมะและหน้าหนาว) และยักษ์เพลิง (ภูเขาไฟ)

อ้างอิง

  1. Orchard (1997:42).
  2. Simek (2007:81).
  3. Simek (2007:160).
  4. Simek (2007:350).

บรรณานุกรม

แม่แบบ:Link GA