ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จันทรุปราคา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Lunar eclipse April 15 2014 California Alfredo Garcia Jr1.jpg|thumb|300px|จันทรุปราคาเต็มดวง 15 เมษายน 2557]]
[[ไฟล์:Lunar eclipse April 15 2014 California Alfredo Garcia Jr1.jpg|thumb|300px|จันทรุปราคาเต็มดวง 15 เมษายน 2557]]
'''จันทรุปราคา''' (ชื่ออื่น เช่น '''จันทรคาธ''', '''จันทรคราส''', '''ราหูอมจันทร์''' หรือ '''กบกินเดือน'''; {{lang-en|lunar eclipse}}) คือปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น เมื่อ[[ดวงอาทิตย์]], [[โลก]] และ[[ดวงจันทร์]] เคลื่อนที่มาอยู่ในแนวระดับเดียวกันพอดี หากเกิดขึ้นในช่วงพระจันทร์เต็มดวง เมื่อดวงจันทร์ผ่านเงาของโลก จะเรียกว่า ''จันทรุปราคา'' ปรากฏการณ์จันทรุปราคาแม้จะเกิดขึ้นตามธรรมชาติ แต่มีอิทธิพลต่อความคิดและความเชื่อในหลายวัฒนธรรมมาช้านาน รวมทั้งของไทยด้วย ซึ่งลักษณะของจันทรุปราคาขึ้นอยู่กับตำแหน่งของดวงจันทร์ที่เคลื่อนที่ผ่านเงาของโลกในเวลานั้น
'''จันทรุปราคา''' (ชื่ออื่น เช่น '''จันทรคาธ''', '''จันทรคราส''', '''ราหูอมจันทร์''' หรือ '''กบกินเดือน'''; {{lang-en|lunar eclipse}}) เป็นปรากฏการณ์ที่[[ดวงจันทร์]]ผ่านหลัง[[โลก]]เข้าสู่เงา (umbra) โดยตรง ซึ่งเกิดขึ้นได้เฉพาะเมื่อ[[ดวงอาทิตย์]] โลกและดวงจันทร์เรียงตรงกันพอดีหรือใกล้เคียงมาก โดยมีโลกอยู่กลาง ชนิดและระยะของอุปราคาขึ้นอยู่กับตำแหน่งของดวงจันทร์เทียบกับปมวงโคจร (orbital node)

จันทรุปราคาสามารถดูได้จากทุกที่ในฝั่งกลางคืนของโลก ซึ่งต่างกับ[[สุริยุปราคา]]ซึ่งมองเห็นได้จากพื้นที่ค่อนข้างเล็กของโลก จันทรุปราคากินเวลาเป็นชั่วโมง ขณะที่สุริยุปราคาเต็มดวงกินเวลาเพียงไม่กี่นาทีในที่หนึ่ง ๆ เนื่องจากเงาของดวงจันทร์มีขนาดเล็กกว่า นอกจากนี้ จันทรุปราคายังสามารถดูได้โดยไม่ต้องมีสิ่งป้องกันดวงตาหรือการป้องกันเป็นพิเศษ เพราะมืดกว่าจันทร์เพ็ญ


== ลักษณะของดวงจันทร์เมื่อเกิดจันทรุปราคาเต็มดวง ==
== ลักษณะของดวงจันทร์เมื่อเกิดจันทรุปราคาเต็มดวง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:41, 9 ตุลาคม 2557

จันทรุปราคาเต็มดวง 15 เมษายน 2557

จันทรุปราคา (ชื่ออื่น เช่น จันทรคาธ, จันทรคราส, ราหูอมจันทร์ หรือ กบกินเดือน; อังกฤษ: lunar eclipse) เป็นปรากฏการณ์ที่ดวงจันทร์ผ่านหลังโลกเข้าสู่เงา (umbra) โดยตรง ซึ่งเกิดขึ้นได้เฉพาะเมื่อดวงอาทิตย์ โลกและดวงจันทร์เรียงตรงกันพอดีหรือใกล้เคียงมาก โดยมีโลกอยู่กลาง ชนิดและระยะของอุปราคาขึ้นอยู่กับตำแหน่งของดวงจันทร์เทียบกับปมวงโคจร (orbital node)

จันทรุปราคาสามารถดูได้จากทุกที่ในฝั่งกลางคืนของโลก ซึ่งต่างกับสุริยุปราคาซึ่งมองเห็นได้จากพื้นที่ค่อนข้างเล็กของโลก จันทรุปราคากินเวลาเป็นชั่วโมง ขณะที่สุริยุปราคาเต็มดวงกินเวลาเพียงไม่กี่นาทีในที่หนึ่ง ๆ เนื่องจากเงาของดวงจันทร์มีขนาดเล็กกว่า นอกจากนี้ จันทรุปราคายังสามารถดูได้โดยไม่ต้องมีสิ่งป้องกันดวงตาหรือการป้องกันเป็นพิเศษ เพราะมืดกว่าจันทร์เพ็ญ

ลักษณะของดวงจันทร์เมื่อเกิดจันทรุปราคาเต็มดวง

การจำลองลักษณะปรากฏของดวงจันทร์ก่อน ระหว่างและหลังจันทรุปราคาเต็มดวง (ตัวอย่างเมื่อ 8 ตุลาคม 2557)

เมื่อเกิดจันทรุปราคาเต็มดวง ดวงจันทร์ไม่ได้หายไปจนมืดทั้งดวง แต่จะเห็นเป็นสีแดงอิฐ เนื่องจากมีการหักเหของแสงอาทิตย์เมื่อส่องผ่านชั้นบรรยากาศของโลก สีของดวงจันทร์เมื่อเกิดจันทรุปราคาแต่ละครั้งจะไม่เหมือนกัน แบ่งออกได้เป็น 5 ระดับ ดังนี้

  • ระดับ 0 ดวงจันทร์มืดจนแทบมองไม่เห็น
  • ระดับ 1 ดวงจันทร์มืด เห็นเป็นสีเทาหรือสีน้ำตาลแต่มองไม่เห็นรายละเอียด ลักษณะพื้นผิวของดวงจันทร์
  • ระดับ 2 ดวงจันทร์มีสีแดงเข้มบริเวณด้านในของเงามืด และมีสีเหลืองสว่างบริเวณด้านนอกของเงามืด
  • ระดับ 3 ดวงจันทร์มีสีแดงอิฐและมีสีเหลืองสว่างบริเวณขอบของเงามืด
  • ระดับ 4 ดวงจันทร์สว่างสีทองแดงหรือสีส้ม ด้านขอบของเงาสว่างมาก

ดูเพิ่ม