ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แบนตัมเวท"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
และ [[ผึ้งหลวง ส.สิงห์อยู่]]
และ [[ผึ้งหลวง ส.สิงห์อยู่]]


และในส่วนของมวยสากลสมัครเล่น มีนักมวยไทย 2 คนที่ได้รับเหรียญรางวัลโอลิมปิก คือ [[ผจญ มูลสัน]] เหรียญทองแดงจาก[[โอลิมปิกฤดูร้อน 1988|โอลิมปิก 1988]] ที่กรุงโซล ประเทศเกาหลีใต้<ref>{{cite web|url=http://www.sopon.ac.th/sopon/sema_web/olympic_thailand/3phajon.html|title=ผจญ มูลสัน|date=|accessdate=27 August 2014|publisher=sopon.ac.th}}</ref> และ [[วรพจน์ เพชรขุ้ม]] เหรียญเงินจาก[[โอลิมปิกฤดูร้อน 2004|โอลิมปิก 2004]] ที่กรุงเอเธนส์ ประเทศกรีซ<ref>{{cite web|url=http://www.sopon.ac.th/sopon/sema_web/olympic_thailand/14worapoj.html|title=วรพจน์ เพชรขุ้ม|date=|accessdate=27 August 2014|publisher=sopon.ac.th}}</ref>
และในส่วนของมวยสากลสมัครเล่น มีนักมวยไทย 3 คนที่ได้รับเหรียญรางวัลโอลิมปิก คือ [[ผจญ มูลสัน]] เหรียญทองแดงจาก[[โอลิมปิกฤดูร้อน 1988|โอลิมปิก 1988]] ที่กรุงโซล ประเทศเกาหลีใต้<ref>{{cite web|url=http://www.sopon.ac.th/sopon/sema_web/olympic_thailand/3phajon.html|title=ผจญ มูลสัน|date=|accessdate=27 August 2014|publisher=sopon.ac.th}}</ref>, [[วิชัย ราชานนท์]] เหรียญทองแดงจาก[[โอลิมปิกฤดูร้อน 1996|โอลิมปิก 1996]] ที่นครแอตแลนตา รัฐจอร์เจีย สหรัฐอเมริกา และ [[วรพจน์ เพชรขุ้ม]] เหรียญเงินจาก[[โอลิมปิกฤดูร้อน 2004|โอลิมปิก 2004]] ที่กรุงเอเธนส์ ประเทศกรีซ<ref>{{cite web|url=http://www.sopon.ac.th/sopon/sema_web/olympic_thailand/14worapoj.html|title=วรพจน์ เพชรขุ้ม|date=|accessdate=27 August 2014|publisher=sopon.ac.th}}</ref>


สำหรับนักมวยต่างชาติที่มีชื่อเสียงที่ชกในพิกัดนี้ นอกจาก ออร์ลันโด้ คาร์นิซาเลส แล้ว ได้แก่ [[จิมมี่ คาร์รัทเธอร์]], [[โรแบร์ โดฮัง|โรแบร์ โคฮัง]], [[ไฟติ้ง ฮาราด้า]], [[Éder Jofre|อีดอร์ โจเฟร่]], [[หลุยส์ ซีโต้ เอสปิโนซา]], [[อิสราเอล คอนเทรรัส]], [[โจอิชิโร่ ทัตสุโยชิ]], [[มุน ซังกิล]], [[นานา คอนาดู]], [[Paul ayala|พอล อยาล่า]], [[โฮซูมิ ฮาเซกาว่า]], [[เฟอร์นันโด มอนเทียล]], [[โกกิ คาเมดะ]] เป็นต้น<ref>Mullan, Harry (1996). ''The Ultimate Encyclopedia of Boxing''. London, England: Carlton Books. pp. 178. ISBN 0785806415. </ref>
สำหรับนักมวยต่างชาติที่มีชื่อเสียงที่ชกในพิกัดนี้ นอกจาก ออร์ลันโด้ คาร์นิซาเลส แล้ว ได้แก่ [[จิมมี่ คาร์รัทเธอร์]], [[โรแบร์ โดฮัง|โรแบร์ โคฮัง]], [[ไฟติ้ง ฮาราด้า]], [[Éder Jofre|อีดอร์ โจเฟร่]], [[หลุยส์ ซีโต้ เอสปิโนซา]], [[อิสราเอล คอนเทรรัส]], [[โจอิชิโร่ ทัตสุโยชิ]], [[มุน ซังกิล]], [[นานา คอนาดู]], [[Paul ayala|พอล อยาล่า]], [[โฮซูมิ ฮาเซกาว่า]], [[เฟอร์นันโด มอนเทียล]], [[โกกิ คาเมดะ]] เป็นต้น<ref>Mullan, Harry (1996). ''The Ultimate Encyclopedia of Boxing''. London, England: Carlton Books. pp. 178. ISBN 0785806415. </ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:31, 28 กันยายน 2557

แบนตั้มเวท (อังกฤษ: Bantamweight) ชื่อเรียกรุ่นมวยรุ่นเล็กที่เคยเป็นรุ่นเล็กเป็นอันดับ 2 ของโลกมาก่อน โดยนักมวยที่จะชกในรุ่นนี้ต้องมีน้ำหนักตัวมากกว่า 115 ปอนด์ (52.163 กิโลกรัม) และไม่เกิน 118 ปอนด์ (53.524 กิโลกรัม) โดยทุกสถาบันจะเรียกชื่อนี้เหมือนกันหมด แชมป์โลกที่ทำสถิติป้องกันตำแหน่งไว้ได้มากที่สุดของรุ่นนี้คือ ออร์ลันโด้ คาร์นิซาเลส นักมวยชาวอเมริกัน โดยทำสถิติป้องกันตำแหน่งไว้ได้ทั้งหมด 15 ครั้ง

สำหรับนักมวยไทยแล้ว รุ่นแบนตั้มเวทนี้ได้ชื่อว่าเป็นรุ่นอาถรรพ์ เพราะเคยมีนักมวยไทยหลายรายที่ขึ้นชิงตำแหน่งแชมป์รุ่นนี้แล้วไม่ประสบความสำเร็จ ถึงได้เป็นแชมป์ไปก็ป้องกันตำแหน่งไว้ได้ไม่นาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับแชมป์ของสมาคมมวยโลก (WBA) เช่น จำเริญ ทรงกิตรัตน์ ที่เคยชิงแชมป์โลกในรุ่นนี้ถึง 3 ครั้ง แต่ก็ไม่ประสบความสำเร็จ [1]

นักมวยไทยที่เคยเป็นแชมป์โลกในรุ่นนี้มีทั้งหมด 7 ราย ได้แก่ เขาค้อ แกแล็คซี่, ดาวรุ่ง ช.ศิริวัฒน์, ศิริมงคล สิงห์มนัสศักดิ์, วีระพล นครหลวงโปรโมชั่น, รัตนชัย ส.วรพิน, พูนสวัสดิ์ กระทิงแดงยิม (เป็นเพียงแชมป์เฉพาะกาล) และ ผึ้งหลวง ส.สิงห์อยู่

และในส่วนของมวยสากลสมัครเล่น มีนักมวยไทย 3 คนที่ได้รับเหรียญรางวัลโอลิมปิก คือ ผจญ มูลสัน เหรียญทองแดงจากโอลิมปิก 1988 ที่กรุงโซล ประเทศเกาหลีใต้[2], วิชัย ราชานนท์ เหรียญทองแดงจากโอลิมปิก 1996 ที่นครแอตแลนตา รัฐจอร์เจีย สหรัฐอเมริกา และ วรพจน์ เพชรขุ้ม เหรียญเงินจากโอลิมปิก 2004 ที่กรุงเอเธนส์ ประเทศกรีซ[3]

สำหรับนักมวยต่างชาติที่มีชื่อเสียงที่ชกในพิกัดนี้ นอกจาก ออร์ลันโด้ คาร์นิซาเลส แล้ว ได้แก่ จิมมี่ คาร์รัทเธอร์, โรแบร์ โคฮัง, ไฟติ้ง ฮาราด้า, อีดอร์ โจเฟร่, หลุยส์ ซีโต้ เอสปิโนซา, อิสราเอล คอนเทรรัส, โจอิชิโร่ ทัตสุโยชิ, มุน ซังกิล, นานา คอนาดู, พอล อยาล่า, โฮซูมิ ฮาเซกาว่า, เฟอร์นันโด มอนเทียล, โกกิ คาเมดะ เป็นต้น[4]

อ้างอิง

  1. นิตยสารคนเด็ดฉบับพิเศษ 22 แชมป์โลกชาวไทย โดย สำนักพิมพ์ดวงตา (กรุงเทพ, พ.ศ. 2538)
  2. "ผจญ มูลสัน". sopon.ac.th. สืบค้นเมื่อ 27 August 2014.
  3. "วรพจน์ เพชรขุ้ม". sopon.ac.th. สืบค้นเมื่อ 27 August 2014.
  4. Mullan, Harry (1996). The Ultimate Encyclopedia of Boxing. London, England: Carlton Books. pp. 178. ISBN 0785806415.