ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระชลโธปมคุณมุนี (พุฒ ปุณฺณโก)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''พระชลโธปมคุณมุนี''' (พุฒ ปุณฺณกเถร) กำเนิดเมื่อวันที่ ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๓๖๑ ([[ปีเถาะ]]) เป็นบุตรของนายจีน และนางปาน ทองคำ ครอบครัวตั้งบ้านเรือนอยู่ข้าง[[วัดขุนจันทร์]] คลองบางกอกใหญ่ [[ธนบุรี]]
'''พระชลโธปมคุณมุนี''' (พุฒ ปุณฺณโก) เกิดวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2361 ([[ปีเถาะ]]) เป็นบุตรของนายจีน และนางปาน ทองคำ ครอบครัวตั้งบ้านเรือนอยู่ข้าง[[วัดขุนจันทร์]] คลองบางกอกใหญ่ [[ธนบุรี]]


== บรรพชาและอุปสมบท ==
== บรรพชาและอุปสมบท ==
บรรพชาเป็นสามเณรอยู่ที่[[วัดประยุรวงศาวา]]อยู่ พรรษา เมื่ออายุ ๒๑ ปี อุปสมบทเป็นพระภิกษุที่[[วัดบวรนิเวศวิหาร]] [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงเป็น[[พระอุปัชฌาย์]] ได้รับฉายา “ปุณฺณโก” พระศรีวิสุทธิวงศ์ (ฟัก) เป็นพระกรรมวาจาจารย์ (ภายหลังลาสิกขาออกมาเป็น[[พระยาศรีสุนทรโวหาร]]) ซึ่งต่อมาได้รับตำแหน่งฐานานุกรมที่ พระครูสมุห์ ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อุปสมบทได้ พรรษา ได้ลาสิกขา ออกมารับราชการเป็นมหาดเล็กใน [[รัชกาลที่ ๓]] และ[[รัชกาลที่ ๔]] รวม ๒๐ ปี ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรให้เป็นขุนสาครวิสัย จุลศักราช ๑๒๒๙ ตรงกับรัตนโกสินทร์ศก ๘๖ ท่านได้บรรพชาอุปสมบทครั้งที่ เมื่ออายุได้ ๔๙ ปี ที่[[วัดบุปผาราม]] ธนบุรี มี พระอมรโมฬี (นบ) เป็นพระอุปัชฌาย์ พระปลัดธัมมรักขิโต (เรือง) เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ได้รับฉายา “ปุณฺณโก” เหมือนเมื่ออุปสมบทครั้งแรก เมื่ออุปสมบทแล้วได้เที่ยวแสวงหาปริเวกธรรมตามอัธยาศัยล่วงไป พรรษา
บรรพชาเป็นสามเณรอยู่ที่[[วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร]]อยู่ 8 พรรษา เมื่ออายุ 21 ปี อุปสมบทเป็นพระภิกษุที่[[วัดบวรนิเวศวิหาร]] [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงเป็น[[พระอุปัชฌาย์]] ได้รับฉายา “ปุณฺณโก” [[พระยาศรีสุนทรโวหาร (ฟัก สาลักษณ์)|พระศรีวิสุทธิวงศ์ (ฟัก)]] เป็นพระกรรมวาจาจารย์ (ภายหลังลาสิกขาออกมาเป็นรับราชการ ได้รับบรรดาศักดิ์สุดท้ายที่[[พระยาศรีสุนทรโวหาร]]) ต่อมาได้รับตำแหน่งที่ ''พระครูสมุห์'' [[ฐานานุกรม]]ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อุปสมบทได้ 8 พรรษา ได้ลาสิกขา ออกมารับราชการเป็นมหาดเล็กใน[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]และ[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รวม 20 ปี ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรให้เป็น ''ขุนสาครวิสัย'' จุลศักราช 1229 ตรงกับรัตนโกสินทร์ศก 86 ท่านได้บรรพชาอุปสมบทครั้งที่ 2 เมื่ออายุได้ 49 ปี ที่[[วัดบุปผารามวรวิหาร]] ธนบุรี มีพระอมรโมฬี (นบ) เป็นพระอุปัชฌาย์ พระปลัดเรือง ธมฺมรกฺขิโต เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ได้รับฉายา “ปุณฺณโก” เหมือนเมื่ออุปสมบทครั้งแรก เมื่ออุปสมบทแล้วได้เที่ยวแสวงหาปริเวกธรรมตามอัธยาศัยล่วงไป 3 พรรษา


== ปูชนียาจารย์ ==
== ปูชนียาจารย์ ==
เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ขำ บุญนาค) ซึ่งเป็นบุตรของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุญนาค) ผู้สถาปนา[[วัดเขาบางทราย]] เกิดความเลื่อมใสศรัทธาในความสามารถหลายด้านของพระชลโธปมคุณมุนี (พุฒ ปุณฺณโก) จึงอาราธนาให้มาจำพรรษาเป็นเจ้าอธิการวัดเขาบางทราย ด้วยความสามารถทั้งการปกครองสงฆ์ และการอบรมสั่งสอนประชาชนจนปรากฏแก่บ้านเมือง โดยเหตุนี้[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ ๕ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานสัญญาบัตรตำแหน่งพระครูเจ้าคณะเมืองให้เป็น พระครูชลโธปมคุณมุนี จนอายุท่านล่วงมาถึง ๘๑ ปี จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เลื่อนสมณศักดิ์ท่านขึ้นเป็นพระราชายก ที่ พระชลโธปมคุณมุนี เจ้าคณะภาคตะวันออก บังคับบัญชาภิกษุสามเณรในวัด ๓ หัวเมือง คือเมือง[[ชลบุรี]] เมือง[[พนัสนิคม]] และเมือง[[บางละมุง]] เมื่อวันที่ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๔๙ เวลาสามยามกับเศษ นาฬิกา ๒๕ นาที รวมสิริอายุได้ ๘๙ ปี พรรษา ๓๙
[[เจ้าพระยาทิพากรวงศ์มหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค) ]] ซึ่งเป็นบุตรของ[[สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยุรวงศ์ (ดิศ บุนนาค)]] ผู้สถาปนา[[วัดเขาบางทราย]] เกิดความเลื่อมใสศรัทธาในความสามารถหลายด้านของพระชลโธปมคุณมุนี (พุฒ ปุณฺณโก) จึงอาราธนาให้มาจำพรรษาเป็นเจ้าอาวาสวัดเขาบางทราย ด้วยความสามารถทั้งการปกครองสงฆ์และการอบรมสั่งสอนประชาชนจนปรากฏแก่บ้านเมือง โดยเหตุนี้[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานสัญญาบัตรตำแหน่งพระครูเจ้าคณะเมืองให้เป็น ''พระครูชลโธปมคุณมุนี'' จนอายุท่านล่วงมาถึง 81 ปี จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เลื่อนสมณศักดิ์ท่านขึ้นเป็นพระราชาคณะยกที่ ''พระชลโธปมคุณมุนี'' เจ้าคณะภาคตะวันออก บังคับบัญชาภิกษุสามเณรในวัด ๓ หัวเมือง คือเมือง[[ชลบุรี]] เมือง[[พนัสนิคม]] และเมือง[[บางละมุง]] เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2449 เวลาสามยามกับเศษ 1 นาฬิกา 25 นาที รวมสิริอายุได้ 89 ปี พรรษา 39


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}
{{เริ่มอ้างอิง}}
{{เริ่มอ้างอิง}}
* หนังสือที่ระลึก ในพระราชวโรกาสที่ [[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] เสด็จพระราชดำเนินทรงประกอบพิธียกฉัตรพระประธาน และ เททองหล่อพระประจำวันเกิด [[สมเด็จพระญาณวโรดม]] ในโอกาสที่จะมีอายุ ๙๐ ปี ณ [[วัดอุทกเขปสีมาราม]] หมู่ที่ ตำบลวัดโบสถ์ อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี วันจันทร์ที่ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๘ เวลา ๑๕.๐๐ น.
* หนังสือที่ระลึก ในพระราชวโรกาสที่ [[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] เสด็จพระราชดำเนินทรงประกอบพิธียกฉัตรพระประธาน และ เททองหล่อพระประจำวันเกิด [[สมเด็จพระญาณวโรดม (ประยูร สนฺตงฺกุโร) ]] ในโอกาสที่จะมีอายุ 90 ปี ณ [[วัดอุทกเขปสีมาราม]] หมู่ที่ 4 ตำบลวัดโบสถ์ อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี วันจันทร์ที่ 7 กุมภาพันธ์ 2548 เวลา 15:00 น.
{{จบอ้างอิง}}
{{จบอ้างอิง}}


{{เรียงลำดับ|ชลโธปมคุณมุนี}}
{{เกิดปี|2361}}{{ตายปี|2449}}
{{เกิดปี|2361}}{{ตายปี|2449}}
[[หมวดหมู่:พระภิกษุในนิกายเถรวาท (ธรรมยุติกนิกาย)]]
[[หมวดหมู่:ภิกษุในสังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย]]
[[หมวดหมู่:พระราชาคณะชั้นสามัญ]]
[[หมวดหมู่:บรรดาศักดิ์ชั้นขุน]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากกรุงเทพมหานคร]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:15, 2 กันยายน 2557

พระชลโธปมคุณมุนี (พุฒ ปุณฺณโก) เกิดวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2361 (ปีเถาะ) เป็นบุตรของนายจีน และนางปาน ทองคำ ครอบครัวตั้งบ้านเรือนอยู่ข้างวัดขุนจันทร์ คลองบางกอกใหญ่ ธนบุรี

บรรพชาและอุปสมบท

บรรพชาเป็นสามเณรอยู่ที่วัดประยุรวงศาวาสวรวิหารอยู่ 8 พรรษา เมื่ออายุ 21 ปี อุปสมบทเป็นพระภิกษุที่วัดบวรนิเวศวิหาร พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเป็นพระอุปัชฌาย์ ได้รับฉายา “ปุณฺณโก” พระศรีวิสุทธิวงศ์ (ฟัก) เป็นพระกรรมวาจาจารย์ (ภายหลังลาสิกขาออกมาเป็นรับราชการ ได้รับบรรดาศักดิ์สุดท้ายที่พระยาศรีสุนทรโวหาร) ต่อมาได้รับตำแหน่งที่ พระครูสมุห์ ฐานานุกรมในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อุปสมบทได้ 8 พรรษา ได้ลาสิกขา ออกมารับราชการเป็นมหาดเล็กในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รวม 20 ปี ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรให้เป็น ขุนสาครวิสัย จุลศักราช 1229 ตรงกับรัตนโกสินทร์ศก 86 ท่านได้บรรพชาอุปสมบทครั้งที่ 2 เมื่ออายุได้ 49 ปี ที่วัดบุปผารามวรวิหาร ธนบุรี มีพระอมรโมฬี (นบ) เป็นพระอุปัชฌาย์ พระปลัดเรือง ธมฺมรกฺขิโต เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ได้รับฉายา “ปุณฺณโก” เหมือนเมื่ออุปสมบทครั้งแรก เมื่ออุปสมบทแล้วได้เที่ยวแสวงหาปริเวกธรรมตามอัธยาศัยล่วงไป 3 พรรษา

ปูชนียาจารย์

เจ้าพระยาทิพากรวงศ์มหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค) ซึ่งเป็นบุตรของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยุรวงศ์ (ดิศ บุนนาค) ผู้สถาปนาวัดเขาบางทราย เกิดความเลื่อมใสศรัทธาในความสามารถหลายด้านของพระชลโธปมคุณมุนี (พุฒ ปุณฺณโก) จึงอาราธนาให้มาจำพรรษาเป็นเจ้าอาวาสวัดเขาบางทราย ด้วยความสามารถทั้งการปกครองสงฆ์และการอบรมสั่งสอนประชาชนจนปรากฏแก่บ้านเมือง โดยเหตุนี้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานสัญญาบัตรตำแหน่งพระครูเจ้าคณะเมืองให้เป็น พระครูชลโธปมคุณมุนี จนอายุท่านล่วงมาถึง 81 ปี จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เลื่อนสมณศักดิ์ท่านขึ้นเป็นพระราชาคณะยกที่ พระชลโธปมคุณมุนี เจ้าคณะภาคตะวันออก บังคับบัญชาภิกษุสามเณรในวัด ๓ หัวเมือง คือเมืองชลบุรี เมืองพนัสนิคม และเมืองบางละมุง เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2449 เวลาสามยามกับเศษ 1 นาฬิกา 25 นาที รวมสิริอายุได้ 89 ปี พรรษา 39

อ้างอิง