ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การแจกแจงความน่าจะเป็น"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต: fr:Loi de probabilité เป็นบทความคุณภาพ
Blueocynia (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
ในความน่าจะเป็นและสถิติศาสตร์ '''การแจกแจงความน่าจะเป็น'''กำหนด[[ความน่าจะเป็น]]ให้เซตย่อยของผลลัพธ์การทดลองสุ่ม การสำรวจหรือวิธีอนุมานทางสถิติที่วัดได้ทั้งหมด ตัวอย่างการแจกแจงความน่าจะเป็นพบได้ในการทดลองที่[[ปริภูมิตัวอย่าง]]ไม่เป็นตัวเลข ซึ่งการแจกแจงจะเป็น[[categorical distribution|การแจกแจงประเภท]], การทดลองที่ปริภูมิตัวอย่างเข้ารหัสด้วย[[ตัวแปรสุ่ม]]วิยุต ซึ่งการแจกแจงสามารถระบุได้ด้วย[[ฟังก์ชันมวลของความน่าจะเป็น]], และการทดลองที่ปริภูมิตัวอย่างเข้ารหัสด้วยตัวแปรสุ่มต่อเนื่อง ซึ่งการแจกแจงสามารถเจาะจงได้ด้วย[[ฟังก์ชันความหนาแน่นของความน่าจะเป็น]] การทดลองที่ซับซ้อนกว่า เช่น การทดลองที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสโทแคสติกที่นิยามในเวลาต่อเนื่อง อาจต้องใช้[[probability measure|เมเชอร์ความน่าจะเป็น]]ที่เจาะจงน้อยกว่า
ในความน่าจะเป็นและสถิติศาสตร์ '''การแจกแจงความน่าจะเป็น'''กำหนด[[ความน่าจะเป็น]]ให้เซตย่อยของผลลัพธ์การทดลองสุ่ม การสำรวจหรือวิธีอนุมานทางสถิติที่วัดได้ทั้งหมด ตัวอย่างการแจกแจงความน่าจะเป็นพบได้ในการทดลองที่[[ปริภูมิตัวอย่าง]]ไม่เป็นตัวเลข ซึ่งการแจกแจงจะเป็น[[categorical distribution|การแจกแจงประเภท]], การทดลองที่ปริภูมิตัวอย่างเข้ารหัสด้วย[[ตัวแปรสุ่ม]]วิยุต ซึ่งการแจกแจงสามารถระบุได้ด้วย[[ฟังก์ชันมวลของความน่าจะเป็น]], และการทดลองที่ปริภูมิตัวอย่างเข้ารหัสด้วยตัวแปรสุ่มต่อเนื่อง ซึ่งการแจกแจงสามารถเจาะจงได้ด้วย[[ฟังก์ชันความหนาแน่นของความน่าจะเป็น]] การทดลองที่ซับซ้อนกว่า เช่น การทดลองที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสโทแคสติกที่นิยามในเวลาต่อเนื่อง อาจต้องใช้[[probability measure|เมเชอร์ความน่าจะเป็น]]ที่เจาะจงน้อยกว่า

== ประเภทของการแจกแจงความน่าจะเป็น ==
# [[การแจกแจงแบบเบอร์นูลี]] (Bernoulli Distribution)
# [[การแจกแจงแบบทวินาม]] (Binomial Distribution)
# [[การแจกแจงแบบทวินามนิเสธ]] (Negative Binomial Distribution)
# [[การแจกแจงแบบเรขาคณิต]] (Geometric Distribution)
# [[การแจกแจงปัวซง]] (Poisson Distribution)
# [[การแจกแจงยูนิฟอร์มของตัวแปรสุ่มไม่ต่อเนื่อง]] (Discrete Uniform Distribution)
# [[การแจกแจงอเนกนาม]] (Multinomial Distribution)
# [[การแจกแจงยูนิฟอร์มของตัวแปรสุ่มต่อเนื่อง]] (Continuous Uniform Distribution)
# [[การแจกแจงเอ็กโพเนนเชียล]] (Exponential Distribution)
# [[การแจกแจงปรกติ]] (Normal Distribution)
# [[การแจกแจงที]] (T Distribution)
# [[การแจกแจงไคกำลัวสอง]] (Chi-Square Distribution (<math>\Chi^2</math>))
# [[การแจกแจงเอฟ]] (F Distribution)

{{โครงคณิตศาสตร์}}
{{โครงคณิตศาสตร์}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:59, 12 สิงหาคม 2557

ในความน่าจะเป็นและสถิติศาสตร์ การแจกแจงความน่าจะเป็นกำหนดความน่าจะเป็นให้เซตย่อยของผลลัพธ์การทดลองสุ่ม การสำรวจหรือวิธีอนุมานทางสถิติที่วัดได้ทั้งหมด ตัวอย่างการแจกแจงความน่าจะเป็นพบได้ในการทดลองที่ปริภูมิตัวอย่างไม่เป็นตัวเลข ซึ่งการแจกแจงจะเป็นการแจกแจงประเภท, การทดลองที่ปริภูมิตัวอย่างเข้ารหัสด้วยตัวแปรสุ่มวิยุต ซึ่งการแจกแจงสามารถระบุได้ด้วยฟังก์ชันมวลของความน่าจะเป็น, และการทดลองที่ปริภูมิตัวอย่างเข้ารหัสด้วยตัวแปรสุ่มต่อเนื่อง ซึ่งการแจกแจงสามารถเจาะจงได้ด้วยฟังก์ชันความหนาแน่นของความน่าจะเป็น การทดลองที่ซับซ้อนกว่า เช่น การทดลองที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสโทแคสติกที่นิยามในเวลาต่อเนื่อง อาจต้องใช้เมเชอร์ความน่าจะเป็นที่เจาะจงน้อยกว่า

ประเภทของการแจกแจงความน่าจะเป็น

  1. การแจกแจงแบบเบอร์นูลี (Bernoulli Distribution)
  2. การแจกแจงแบบทวินาม (Binomial Distribution)
  3. การแจกแจงแบบทวินามนิเสธ (Negative Binomial Distribution)
  4. การแจกแจงแบบเรขาคณิต (Geometric Distribution)
  5. การแจกแจงปัวซง (Poisson Distribution)
  6. การแจกแจงยูนิฟอร์มของตัวแปรสุ่มไม่ต่อเนื่อง (Discrete Uniform Distribution)
  7. การแจกแจงอเนกนาม (Multinomial Distribution)
  8. การแจกแจงยูนิฟอร์มของตัวแปรสุ่มต่อเนื่อง (Continuous Uniform Distribution)
  9. การแจกแจงเอ็กโพเนนเชียล (Exponential Distribution)
  10. การแจกแจงปรกติ (Normal Distribution)
  11. การแจกแจงที (T Distribution)
  12. การแจกแจงไคกำลัวสอง (Chi-Square Distribution ())
  13. การแจกแจงเอฟ (F Distribution)

แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link GA