ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษากอกบอรอก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
New page: '''ภาษากอกโบรอก''' เป็นภาษาพื้นเมืองของชาวตรีปุระ ในรัฐตรีปุระ และบ...
 
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
+ infobox
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล ภาษา
|name=ภาษากอกโบรอก
|states=[[อินเดีย]] และ [[บังกลาเทศ]]
|region=[[ตรีปุระ]], [[อัสสัม]], [[ไมโซรัม]], [[บังกลาเทศ]]
|speakers=800,000
658,000 ในอินเดีย(2537); 105,000 ในบังกลาเทศ(2536)
|familycolor=Sino-Tibetan
|fam2=[[ภาษากลุ่มทิเบต-พม่า]]
|fam3=กามารุปัน
|fam4=[[ภาษากลุ่มโบโด]]-[[ภาษากลุ่มกาโร]]
|fam5=โบโด
|nation=[[ตรีปุระ]] ([[อินเดีย]])
|iso2=sit|iso3=trp}}

'''ภาษากอกโบรอก''' เป็นภาษาพื้นเมืองของชาวตรีปุระ ในรัฐ[[ตรีปุระ]] และบริเวณใกล้เคียงใน[[บังกลาเทศ]] เป็นภาษาตระกูลทิเบต-พม่า คำว่า กอกโบรอก มาจาก “kok” แปลว่า “ภาษา” และ “borok” ที่แปลว่าผู้ชาย ซึ่งใช้แทนชาวตรีปุระทั้งหมดด้วย ดังนั้น กอกโบรอก จึงหมายถึง “ภาษาของชาวตรีปุระ”
'''ภาษากอกโบรอก''' เป็นภาษาพื้นเมืองของชาวตรีปุระ ในรัฐ[[ตรีปุระ]] และบริเวณใกล้เคียงใน[[บังกลาเทศ]] เป็นภาษาตระกูลทิเบต-พม่า คำว่า กอกโบรอก มาจาก “kok” แปลว่า “ภาษา” และ “borok” ที่แปลว่าผู้ชาย ซึ่งใช้แทนชาวตรีปุระทั้งหมดด้วย ดังนั้น กอกโบรอก จึงหมายถึง “ภาษาของชาวตรีปุระ”
==ไวยากรณ์==
==การเรียงประโยค==
===การเรียงประโยค===
* ประธาน-กรรม- กริยา เช่น Naisok mai (ข้าว) chao (กิน) = ไนซอกกินข้าว
* ประธาน-กรรม- กริยา เช่น Naisok mai (ข้าว) chao (กิน) = ไนซอกกินข้าว
* คำแสดงความเป็นเจ้าของ-ประธาน-คำถาม เช่น Nini (ของคุณ) mung (ชื่อ) tamo (อะไร) = คุณชื่ออะไร
* คำแสดงความเป็นเจ้าของ-ประธาน-คำถาม เช่น Nini (ของคุณ) mung (ชื่อ) tamo (อะไร) = คุณชื่ออะไร
บรรทัด 6: บรรทัด 21:
* ประธาน-คำถาม-กริยา เช่น Nwng (คุณ) tamoni bagwi (ทำไม) phai (มา) = คุณมาทำไม
* ประธาน-คำถาม-กริยา เช่น Nwng (คุณ) tamoni bagwi (ทำไม) phai (มา) = คุณมาทำไม
* ประธาน-กริยา-คำสั่ง เช่น Nwng (คุณ) thangdi (จงไป) = คุณจงไป
* ประธาน-กริยา-คำสั่ง เช่น Nwng (คุณ) thangdi (จงไป) = คุณจงไป
==บุคคล==
===บุคคล===
ภาษากอกโบรอกไม่มีการเปลี่ยนรูปกริยาตามบุคคล
ภาษากอกโบรอกไม่มีการเปลี่ยนรูปกริยาตามบุคคล
==จำนวน==
===จำนวน===
มี 2 แบบ คือ พหูพจน์ กับเอกพจน์ คำที่ใช้แสดงพหูพจน์ มี 2 คำ คือ rok และ sung ใช้ต่อท้ายคำนามหรือสรรพนาม rok ใช้ได้ทั่วไป แต่ sung ใช้กับคำนามที่เป็นบุคคลเท่านั้น คำนามที่มีคุณศัพท์ขยาย จะแสดงพหูพจน์ทีคุณศัพท์แทน เช่น
มี 2 แบบ คือ พหูพจน์ กับเอกพจน์ คำที่ใช้แสดงพหูพจน์ มี 2 คำ คือ rok และ sung ใช้ต่อท้ายคำนามหรือสรรพนาม rok ใช้ได้ทั่วไป แต่ sung ใช้กับคำนามที่เป็นบุคคลเท่านั้น คำนามที่มีคุณศัพท์ขยาย จะแสดงพหูพจน์ทีคุณศัพท์แทน เช่น


บรรทัด 14: บรรทัด 29:


O bwrwi naithokrok kaham rwchabo = ผู้หญิงสวยเหล่านั้นร้องเพลงได้ดี
O bwrwi naithokrok kaham rwchabo = ผู้หญิงสวยเหล่านั้นร้องเพลงได้ดี
==เพศ==
===เพศ===
มี 4 เพศ คือ บุรุษลึงค์ (เพศชาย) สตรีลึงค์ (เพศหญิง) อลึงค์ (เพศไม่ปรากฏ) และ นปุงสกลึงค์ (ไม่มีเพศ) เช่น borok (ผู้ชาย) เป็นบุรุษลึงค์ bwrwr (ผู้หญิง) เป็น สตรีลึงค์ chwari (เด็ก) เป็น อลึงค์ buphang (ต้นไม้) เป็น นปุงสกลึงค์
มี 4 เพศ คือ บุรุษลึงค์ (เพศชาย) สตรีลึงค์ (เพศหญิง) อลึงค์ (เพศไม่ปรากฏ) และ นปุงสกลึงค์ (ไม่มีเพศ) เช่น borok (ผู้ชาย) เป็นบุรุษลึงค์ bwrwr (ผู้หญิง) เป็น สตรีลึงค์ chwari (เด็ก) เป็น อลึงค์ buphang (ต้นไม้) เป็น นปุงสกลึงค์
===การเปลี่ยนเพศของคำ===
====การเปลี่ยนเพศของคำ====
ทำได้หลายวิธี เช่น
ทำได้หลายวิธี เช่น
* ใช้คำต่างกัน เช่น bwsai (สามี) – bihik (ภรรยา); phayong (พี่ชาย) – hanok (พี่สาว)
* ใช้คำต่างกัน เช่น bwsai (สามี) – bihik (ภรรยา); phayong (พี่ชาย) – hanok (พี่สาว)
บรรทัด 22: บรรทัด 37:
* เติม jwk ต่อท้ายรูปบุรุษ เช่น bwsa (ลูกชาย) – bwsajwk (ลูกสาว); kwra (พ่อตา) – kwrajwk (แม่ยาย)
* เติม jwk ต่อท้ายรูปบุรุษ เช่น bwsa (ลูกชาย) – bwsajwk (ลูกสาว); kwra (พ่อตา) – kwrajwk (แม่ยาย)
* คำที่เป็นอลึงค์ ทำให้อยู่ในรูปบุรุษโดยเติมปัจจัย sa, chwla, joa ทำให้อยู่ในรูปสตรีโดยเติม ma, jwk, bwrwi เช่น pun (แพะ)- punjua (แพะตัวผู้) – punjuk (แพะตัวเมีย); tok (ไก่) tokchwla (ไก่ตัวผู้) – tokma (ไก่ตัวเมีย); takhum (เป็ด) – takhumchwla (เป็ดตัวผู้) – takhumbwrwi (เป็ดตัวเมีย)
* คำที่เป็นอลึงค์ ทำให้อยู่ในรูปบุรุษโดยเติมปัจจัย sa, chwla, joa ทำให้อยู่ในรูปสตรีโดยเติม ma, jwk, bwrwi เช่น pun (แพะ)- punjua (แพะตัวผู้) – punjuk (แพะตัวเมีย); tok (ไก่) tokchwla (ไก่ตัวผู้) – tokma (ไก่ตัวเมีย); takhum (เป็ด) – takhumchwla (เป็ดตัวผู้) – takhumbwrwi (เป็ดตัวเมีย)
==การกและการลงท้ายการก==
===การกและการลงท้ายการก===
ภาษากอกโบรอก มีการกประธาน การกกรรม การกเครื่องมือ การกคำนาม การกความเป็นเจ้าของ และการกสถานที่ การลงท้ายของแต่ละการกคือ o (ประธาน) nu (กรรม) ha (เครื่องมือ) ni (คำนาม) ni (ความเป็นเจ้าของ) และ o (สถานที่) โดยการลงท้ายเหล่านี้ ใช้ต่อท้ายคำนามและคำสรรพนาม ไม่มีการเปลี่ยนรูปแบบของคำนาม
ภาษากอกโบรอก มีการกประธาน การกกรรม การกเครื่องมือ การกคำนาม การกความเป็นเจ้าของ และการกสถานที่ การลงท้ายของแต่ละการกคือ o (ประธาน) nu (กรรม) ha (เครื่องมือ) ni (คำนาม) ni (ความเป็นเจ้าของ) และ o (สถานที่) โดยการลงท้ายเหล่านี้ ใช้ต่อท้ายคำนามและคำสรรพนาม ไม่มีการเปลี่ยนรูปแบบของคำนาม
==คำคุณศัพท์==
===คำคุณศัพท์===
วางต่อจากคำที่ขยาย ซึ่งใช้กับคำคุณศัพท์ดั้งเดิมเท่านั้น คำคุณศัพท์ ทิ่เป็นคำยืม อาจเรียงแบบอื่นได้ แบ่งเป็น 4 ระดับ คือ คำคุณศัพท์บริสุทธิ์ คำคุณศัพท์ประกอบ คำคุณศัพท์ขยายกริยา และคำคุณศัพท์ชนิดเค (k) ระดับแรกเป็นได้ทั้งคำดั้งเดิมและคำยืม ส่วนแบบที่ 4 พบเฉพาะคำดั้งเดิมเท่านั้น
วางต่อจากคำที่ขยาย ซึ่งใช้กับคำคุณศัพท์ดั้งเดิมเท่านั้น คำคุณศัพท์ ทิ่เป็นคำยืม อาจเรียงแบบอื่นได้ แบ่งเป็น 4 ระดับ คือ คำคุณศัพท์บริสุทธิ์ คำคุณศัพท์ประกอบ คำคุณศัพท์ขยายกริยา และคำคุณศัพท์ชนิดเค (k) ระดับแรกเป็นได้ทั้งคำดั้งเดิมและคำยืม ส่วนแบบที่ 4 พบเฉพาะคำดั้งเดิมเท่านั้น
==ตัวเลข==
===ตัวเลข===
มีทั้ง[[เลขฐาน 10]] และ[[เลขฐาน 20]] การนับเลขได้แก่
มีทั้ง[[เลขฐาน 10]] และ[[เลขฐาน 20]] การนับเลขได้แก่



รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:51, 16 พฤษภาคม 2550

ภาษากอกโบรอก
ประเทศที่มีการพูดอินเดีย และ บังกลาเทศ
ภูมิภาคตรีปุระ, อัสสัม, ไมโซรัม, บังกลาเทศ
จำนวนผู้พูด800,000 658,000 ในอินเดีย(2537); 105,000 ในบังกลาเทศ(2536)  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการตรีปุระ (อินเดีย)
รหัสภาษา
ISO 639-2sit
ISO 639-3trp

ภาษากอกโบรอก เป็นภาษาพื้นเมืองของชาวตรีปุระ ในรัฐตรีปุระ และบริเวณใกล้เคียงในบังกลาเทศ เป็นภาษาตระกูลทิเบต-พม่า คำว่า กอกโบรอก มาจาก “kok” แปลว่า “ภาษา” และ “borok” ที่แปลว่าผู้ชาย ซึ่งใช้แทนชาวตรีปุระทั้งหมดด้วย ดังนั้น กอกโบรอก จึงหมายถึง “ภาษาของชาวตรีปุระ”

ไวยากรณ์

การเรียงประโยค

  • ประธาน-กรรม- กริยา เช่น Naisok mai (ข้าว) chao (กิน) = ไนซอกกินข้าว
  • คำแสดงความเป็นเจ้าของ-ประธาน-คำถาม เช่น Nini (ของคุณ) mung (ชื่อ) tamo (อะไร) = คุณชื่ออะไร
  • ประธาน-กริยา-คำถาม เช่น Nwng (คุณ) thangnaide (จะไป) = คุณจะไปหรือ
  • ประธาน-คำถาม-กริยา เช่น Nwng (คุณ) tamoni bagwi (ทำไม) phai (มา) = คุณมาทำไม
  • ประธาน-กริยา-คำสั่ง เช่น Nwng (คุณ) thangdi (จงไป) = คุณจงไป

บุคคล

ภาษากอกโบรอกไม่มีการเปลี่ยนรูปกริยาตามบุคคล

จำนวน

มี 2 แบบ คือ พหูพจน์ กับเอกพจน์ คำที่ใช้แสดงพหูพจน์ มี 2 คำ คือ rok และ sung ใช้ต่อท้ายคำนามหรือสรรพนาม rok ใช้ได้ทั่วไป แต่ sung ใช้กับคำนามที่เป็นบุคคลเท่านั้น คำนามที่มีคุณศัพท์ขยาย จะแสดงพหูพจน์ทีคุณศัพท์แทน เช่น

Bwrwirok Teliamura o thangnai = ผู้หญิงเหล่านั้นจะไปที่เตลิอมุระ (Teliamura)

O bwrwi naithokrok kaham rwchabo = ผู้หญิงสวยเหล่านั้นร้องเพลงได้ดี

เพศ

มี 4 เพศ คือ บุรุษลึงค์ (เพศชาย) สตรีลึงค์ (เพศหญิง) อลึงค์ (เพศไม่ปรากฏ) และ นปุงสกลึงค์ (ไม่มีเพศ) เช่น borok (ผู้ชาย) เป็นบุรุษลึงค์ bwrwr (ผู้หญิง) เป็น สตรีลึงค์ chwari (เด็ก) เป็น อลึงค์ buphang (ต้นไม้) เป็น นปุงสกลึงค์

การเปลี่ยนเพศของคำ

ทำได้หลายวิธี เช่น

  • ใช้คำต่างกัน เช่น bwsai (สามี) – bihik (ภรรยา); phayong (พี่ชาย) – hanok (พี่สาว)
  • เติม -in ต่อท้ายรูปบุรุษ คำที่ลงท้ายด้วย a ตัด a ทิ้งไป เช่น sikla (ชายหนุ่ม) – sikli (หญิงสาว); achu (ปู่) – achui (ย่า)
  • เติม jwk ต่อท้ายรูปบุรุษ เช่น bwsa (ลูกชาย) – bwsajwk (ลูกสาว); kwra (พ่อตา) – kwrajwk (แม่ยาย)
  • คำที่เป็นอลึงค์ ทำให้อยู่ในรูปบุรุษโดยเติมปัจจัย sa, chwla, joa ทำให้อยู่ในรูปสตรีโดยเติม ma, jwk, bwrwi เช่น pun (แพะ)- punjua (แพะตัวผู้) – punjuk (แพะตัวเมีย); tok (ไก่) tokchwla (ไก่ตัวผู้) – tokma (ไก่ตัวเมีย); takhum (เป็ด) – takhumchwla (เป็ดตัวผู้) – takhumbwrwi (เป็ดตัวเมีย)

การกและการลงท้ายการก

ภาษากอกโบรอก มีการกประธาน การกกรรม การกเครื่องมือ การกคำนาม การกความเป็นเจ้าของ และการกสถานที่ การลงท้ายของแต่ละการกคือ o (ประธาน) nu (กรรม) ha (เครื่องมือ) ni (คำนาม) ni (ความเป็นเจ้าของ) และ o (สถานที่) โดยการลงท้ายเหล่านี้ ใช้ต่อท้ายคำนามและคำสรรพนาม ไม่มีการเปลี่ยนรูปแบบของคำนาม

คำคุณศัพท์

วางต่อจากคำที่ขยาย ซึ่งใช้กับคำคุณศัพท์ดั้งเดิมเท่านั้น คำคุณศัพท์ ทิ่เป็นคำยืม อาจเรียงแบบอื่นได้ แบ่งเป็น 4 ระดับ คือ คำคุณศัพท์บริสุทธิ์ คำคุณศัพท์ประกอบ คำคุณศัพท์ขยายกริยา และคำคุณศัพท์ชนิดเค (k) ระดับแรกเป็นได้ทั้งคำดั้งเดิมและคำยืม ส่วนแบบที่ 4 พบเฉพาะคำดั้งเดิมเท่านั้น

ตัวเลข

มีทั้งเลขฐาน 10 และเลขฐาน 20 การนับเลขได้แก่

sa = 1; nwi = 2; tham = 3; brwi = 4; ba = 5; dok = 6; sni = 7; char = 8; chuku =9; chi = 10; rasa = 100; saisa = 1,000 rwjag = 100,000; chisa = 10 + 1 = 11