ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นกอินทรีทอง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Peng ncc (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 28: บรรทัด 28:
นกอินทรีทองรักษาขอบเขตที่อยู่หรือดินแดนของมันซึ่งกว้างขวางประมาณ 200 ตารางกิโลเมตร (77 ตารางไมล์) พวกมันสร้าง[[รังนก]]ขนาดใหญ่ในพื้นที่สูง (หน้าผาเป็นหลัก) ซึ่งมันอาจจะกลับมาในปีที่มีการผสมพันธุ์ กิจกรรมผสมพันธุ์ส่วนใหญ่เกิดขึ้นใน[[ฤดูใบไม้ผลิ]] พวกมันมีคู่ครองเพียงตัวเดียวและอาจจะยังคงอยู่ด้วยเป็นเวลาหลายปีหรือตลอดชีวิต ตัวเมียวางไข่ 4 ฟอง และใช้เวลาฝักไข่ 6 อาทิตย์ โดยปกติแล้วลูกนกหนึ่งหรือสองตัวเท่านั้นที่จะรอดชีวิตและถูกเลี้ยงจนกระทั่งบินได้ในเวลา 3 เดือน นกอินทรีทองวัยรุ่นเข้าสู่อิสรภาพอย่างเต็มตัวใน[[ฤดูใบไม้ร่วง]] หลังจากนั้นพวกมันจะบินเร่ร่อนอย่างกว้างขวางจนกระทั่งมีการสร้างเขตแดนสำหรับตัวมันเองใน 4 ถึง 5 ปี
นกอินทรีทองรักษาขอบเขตที่อยู่หรือดินแดนของมันซึ่งกว้างขวางประมาณ 200 ตารางกิโลเมตร (77 ตารางไมล์) พวกมันสร้าง[[รังนก]]ขนาดใหญ่ในพื้นที่สูง (หน้าผาเป็นหลัก) ซึ่งมันอาจจะกลับมาในปีที่มีการผสมพันธุ์ กิจกรรมผสมพันธุ์ส่วนใหญ่เกิดขึ้นใน[[ฤดูใบไม้ผลิ]] พวกมันมีคู่ครองเพียงตัวเดียวและอาจจะยังคงอยู่ด้วยเป็นเวลาหลายปีหรือตลอดชีวิต ตัวเมียวางไข่ 4 ฟอง และใช้เวลาฝักไข่ 6 อาทิตย์ โดยปกติแล้วลูกนกหนึ่งหรือสองตัวเท่านั้นที่จะรอดชีวิตและถูกเลี้ยงจนกระทั่งบินได้ในเวลา 3 เดือน นกอินทรีทองวัยรุ่นเข้าสู่อิสรภาพอย่างเต็มตัวใน[[ฤดูใบไม้ร่วง]] หลังจากนั้นพวกมันจะบินเร่ร่อนอย่างกว้างขวางจนกระทั่งมีการสร้างเขตแดนสำหรับตัวมันเองใน 4 ถึง 5 ปี


ครั้งหนึ่งนกอินทรีทองเคยอยู่อย่างแพร่หลายทั่วซีกโลกเหนือ แต่พวกมันได้หายไปจากหลายๆ พื้นที่ซึ่งมนุษย์ได้เข้ามาอาศัยอยู่ แม้ว่ามีการทำลายล้างในบางขอบเขตที่อยู่ของมัน หลายๆ สายพันธุ์ยังคงพบได้ทั่วไปพอสมควร ในปัจจุบันมีการขยายออกที่กว้างขวางใน[[ทวีปยูเรเชีย]] [[อเมริกาเหนือ]] และในส่วนของ[[แอฟริกาเหนือ]] พวกมันคือนกอินทรีที่มีประชากรหนาแน่นน้อยที่สุดและใหญ่ที่สุดใน 5 สายพันธุ์ของ[[วงศ์เหยี่ยวและอินทรี]] ที่ปรากฎทั้งใน[[เขตชีวภาพพาลีอาร์กติก]] และเขตชีวภาพนีอาร์กติก (อเมริกาเหนือ)
ครั้งหนึ่งนกอินทรีทองเคยอยู่อย่างแพร่หลายทั่วซีกโลกเหนือ แต่พวกมันได้หายไปจากหลายๆ พื้นที่ซึ่งมนุษย์ได้เข้ามาอาศัยอยู่ แม้ว่ามีการทำลายล้างในบางขอบเขตที่อยู่ของมัน หลายๆ สายพันธุ์ยังคงพบได้ทั่วไปพอสมควร ในปัจจุบันมีการขยายออกที่กว้างขวางใน[[ทวีปยูเรเชีย]] [[อเมริกาเหนือ]] และในส่วนของ[[แอฟริกาเหนือ]] พวกมันคือนกอินทรีที่มีประชากรหนาแน่นน้อยที่สุดและใหญ่ที่สุดใน 5 สายพันธุ์ของ[[วงศ์เหยี่ยวและอินทรี]] ที่ปรากฏทั้งใน[[เขตชีวภาพพาลีอาร์กติก]] และเขตชีวภาพนีอาร์กติก (อเมริกาเหนือ)


นกอินทรีทองยังเป็นนกประจำชาติของ[[ประเทศเม็กซิโก]]อย่างเป็นทางการ และ[[ประเทศอียิปต์]]อย่างไม่เป็นทางการ นอกจากนี้ยังเป็นสัตว์ประจำชาติอีก 2 ประเทศคือ [[แอลเบเนีย]] และ[[เยอรมนี]]
นกอินทรีทองยังเป็นนกประจำชาติของ[[ประเทศเม็กซิโก]]อย่างเป็นทางการ และ[[ประเทศอียิปต์]]อย่างไม่เป็นทางการ นอกจากนี้ยังเป็นสัตว์ประจำชาติอีก 2 ประเทศคือ [[แอลเบเนีย]] และ[[เยอรมนี]]
บรรทัด 40: บรรทัด 40:
==สมุดภาพ==
==สมุดภาพ==
<gallery>
<gallery>
File:Aquila_chrysaetos_Flickr.jpg|นกอินทรีทอง
ไฟล์:Aquila_chrysaetos_Flickr.jpg|นกอินทรีทอง
File:Berkut_photo_by_Igor_Shpilenok.jpeg|นกอินทรีทอง
ไฟล์:Berkut_photo_by_Igor_Shpilenok.jpeg|นกอินทรีทอง
File:GoldenEagle_with_Stellers_Sea_Eagles.jpeg|นกอินทรีทองและ[[นกอินทรีทะเลชเตลเลอร์]]กำลังแบ่งอาหารให้กันและกัน
ไฟล์:GoldenEagle_with_Stellers_Sea_Eagles.jpeg|นกอินทรีทองและ[[นกอินทรีทะเลชเตลเลอร์]]กำลังแบ่งอาหารให้กันและกัน
File:Golden_eagle_-_nest_scene_reconsitution.jpg|นกอินทรีทองและรังของมัน
ไฟล์:Golden_eagle_-_nest_scene_reconsitution.jpg|นกอินทรีทองและรังของมัน
File:Steinadler_Baby_vierzehn_Tage_alt_12052007_01.jpg|ลูกนกอินทรีทอง
ไฟล์:Steinadler_Baby_vierzehn_Tage_alt_12052007_01.jpg|ลูกนกอินทรีทอง
File:Flag_of_Albania.svg|[[ธงชาติแอลเบเนีย]]
ไฟล์:Flag_of_Albania.svg|[[ธงชาติแอลเบเนีย]]
File:Coat_of_arms_of_Egypt_(Official).svg|ตราอาร์มของประเทศอียิปต์
ไฟล์:Coat_of_arms_of_Egypt_(Official).svg|ตราอาร์มของประเทศอียิปต์
File:Coat_of_arms_of_Mexico.svg|ตราอาร์มของประเทศเม็กซิโก
ไฟล์:Coat_of_arms_of_Mexico.svg|ตราอาร์มของประเทศเม็กซิโก
</gallery>
</gallery>



รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:28, 6 สิงหาคม 2557

นกอินทรีทอง
Golden eagle
นกอินทรีทองวัยโตเต็มตัว
สถานะการอนุรักษ์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: สัตว์มีแกนสันหลัง (Chordata)
ชั้น: นก (Aves)
อันดับ: อันดับเหยี่ยว (Accipitriformes)
วงศ์: วงศ์เหยี่ยวและอินทรี (Accipitridae)
สกุล: Aquila
สปีชีส์: A.  chrysaetos
ชื่อทวินาม
Aquila chrysaetos
(Linnaeus, 1758)
สีน้ำตาลอ่อน : ในฤดูหนาวเท่านั้น

สีน้ำตาล : ในการผสมพันธุ์เท่านั้น
สีน้ำตาลเข้ม : ตลอดปี

ชื่อพ้อง

Falco chrysaëtos Linnaeus, 1758

นกอินทรีทอง (อังกฤษ: golden eagle, ชื่อวิทยาศาสตร์: Aquila chrysaetos) คือหนึ่งในนกล่าเหยื่อที่เป็นที่รู้จักในซีกโลกเหนือ นกชนิดนี้เป็นสายพันธุ์อินทรีที่กระจายตัวกว้างขว้างที่สุดในโลก เหมือนกับนกอินทรีทั่วไปที่อยู่ในวงศ์เหยี่ยวและอินทรี นกอินทรีทองมีขนสีน้ำตาลเข้มและมีขนสีน้ำตาลทองที่อ่อนกว่าบริเวณต้นคอ นกอินทรีที่ยังไม่โตเต็มตัวโดยปกติจะมีสีขาวที่หาง และบ่อยครั้งมีขนสีขาวที่ปีก โดยปกติแล้วนกอินทรีทองใช้ความสามารถของมันและความเร็วในการรวมเท้าที่ทรงพลังและกรงเล็บที่แหลมคมในการจับเหยื่อที่หลากหลาย เหยื่อหลักๆ ของมันคือ กระต่ายแจ็ก กระต่าย มาร์มอท และกระรอกดินอื่นๆ[2]

นกอินทรีทองรักษาขอบเขตที่อยู่หรือดินแดนของมันซึ่งกว้างขวางประมาณ 200 ตารางกิโลเมตร (77 ตารางไมล์) พวกมันสร้างรังนกขนาดใหญ่ในพื้นที่สูง (หน้าผาเป็นหลัก) ซึ่งมันอาจจะกลับมาในปีที่มีการผสมพันธุ์ กิจกรรมผสมพันธุ์ส่วนใหญ่เกิดขึ้นในฤดูใบไม้ผลิ พวกมันมีคู่ครองเพียงตัวเดียวและอาจจะยังคงอยู่ด้วยเป็นเวลาหลายปีหรือตลอดชีวิต ตัวเมียวางไข่ 4 ฟอง และใช้เวลาฝักไข่ 6 อาทิตย์ โดยปกติแล้วลูกนกหนึ่งหรือสองตัวเท่านั้นที่จะรอดชีวิตและถูกเลี้ยงจนกระทั่งบินได้ในเวลา 3 เดือน นกอินทรีทองวัยรุ่นเข้าสู่อิสรภาพอย่างเต็มตัวในฤดูใบไม้ร่วง หลังจากนั้นพวกมันจะบินเร่ร่อนอย่างกว้างขวางจนกระทั่งมีการสร้างเขตแดนสำหรับตัวมันเองใน 4 ถึง 5 ปี

ครั้งหนึ่งนกอินทรีทองเคยอยู่อย่างแพร่หลายทั่วซีกโลกเหนือ แต่พวกมันได้หายไปจากหลายๆ พื้นที่ซึ่งมนุษย์ได้เข้ามาอาศัยอยู่ แม้ว่ามีการทำลายล้างในบางขอบเขตที่อยู่ของมัน หลายๆ สายพันธุ์ยังคงพบได้ทั่วไปพอสมควร ในปัจจุบันมีการขยายออกที่กว้างขวางในทวีปยูเรเชีย อเมริกาเหนือ และในส่วนของแอฟริกาเหนือ พวกมันคือนกอินทรีที่มีประชากรหนาแน่นน้อยที่สุดและใหญ่ที่สุดใน 5 สายพันธุ์ของวงศ์เหยี่ยวและอินทรี ที่ปรากฏทั้งในเขตชีวภาพพาลีอาร์กติก และเขตชีวภาพนีอาร์กติก (อเมริกาเหนือ)

นกอินทรีทองยังเป็นนกประจำชาติของประเทศเม็กซิโกอย่างเป็นทางการ และประเทศอียิปต์อย่างไม่เป็นทางการ นอกจากนี้ยังเป็นสัตว์ประจำชาติอีก 2 ประเทศคือ แอลเบเนีย และเยอรมนี

ดูเพิ่ม

  • วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Aquila chrysaetos

อ้างอิง

  1. BirdLife International (2013). "Aquila chrysaetos". IUCN Red List of Threatened Species. Version 2013.2. สืบค้นเมื่อ 26 November 2013.
  2. The Golden Eagle books.google.com/

สมุดภาพ