ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อนุรักษนิยม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{อุดมการณ์ทางการเมือง}}
{{อุดมการณ์ทางการเมือง}}


'''อนุรักษนิยม''' หรือ '''คติอนุรักษ์''' ({{lang-en|conservatism}}) โดยทั่วไปหมายถึง[[ปรัชญา]]ทาง[[การเมือง]]ที่ยึดถือเอาสิ่งดีงามในอดีตมาเป็นแนวทางในการดำเนินงานในปัจจุบัน โดยนิยมการเปลี่ยนแปลงแบบค่อยเป็นค่อยไป และส่วนใหญ่จะอยู่ตรงข้ามกับแนวคิด[[ปฏิวัติ]]<ref>เดโช สวนานนท์, พจนานุกรมศัพท์การเมือง, พ.ศ. 2545, หน้า 287</ref> แนวอนุรักษนิยมทางการเมืองสมัยใหม่เริ่มต้นขึ้นในปลาย[[คริสต์ศตวรรษที่ 18]] ซึ่งเป็นปฏิกิริยาตอบสนองต่อ[[การปฏิวัติฝรั่งเศส]]และ[[การปฏิวัติอุตสาหกรรม]] อันนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง<ref>"conservatism", Encyclopædia Britannica 2001</ref><ref>"[http://www.bartleby.com/65/co/conservatsm.html conservatism]", The Columbia Encyclopedia, Sixth Edition</ref> [[พรรคการเมือง]]ที่มีแนวคิดอนุรักษนิยมจัดเป็น[[พรรคอนุรักษนิยม]]
'''อนุรักษนิยม''' หรือ '''คติอนุรักษ์''' ({{lang-en|conservatism}}) โดยทั่วไปหมายถึง[[ปรัชญา]]ทาง[[การเมือง]]ที่ยึดถือเอาสิ่งดีงามในอดีตมาเป็นแนวทางในการดำเนินงานในปัจจุบัน โดยนิยมการเปลี่ยนแปลงแบบค่อยเป็นค่อยไป และส่วนใหญ่จะอยู่ตรงข้ามกับแนวคิด[[เสรีนิยม]]<ref>เดโช สวนานนท์, พจนานุกรมศัพท์การเมือง, พ.ศ. 2545, หน้า 287</ref> แนวอนุรักษนิยมทางการเมืองสมัยใหม่เริ่มต้นขึ้นในปลาย[[คริสต์ศตวรรษที่ 18]] ซึ่งเป็นปฏิกิริยาตอบสนองต่อ[[การปฏิวัติฝรั่งเศส]]และ[[การปฏิวัติอุตสาหกรรม]] อันนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง<ref>"conservatism", Encyclopædia Britannica 2001</ref><ref>"[http://www.bartleby.com/65/co/conservatsm.html conservatism]", The Columbia Encyclopedia, Sixth Edition</ref> [[พรรคการเมือง]]ที่มีแนวคิดอนุรักษนิยมจัดเป็น[[พรรคอนุรักษนิยม]]

== อนุรักษ์นิยมในประเทศไทย ==
[[พรรคประชาธิปัตย์]] ถือได้ว่าเป็นพรรคอนุรักษ์นิยมที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในประเทศไทย โดยมักจะมีการทำงานสอดคล้องและสนับสนุนกันกับกลุ่มชนชั้นสูงซึ่งส่วนหนึ่งเป็นลูกหลานของอดีตผู้มีอำนาจในสมัยก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 มีฐานผู้สนับสนุนเป็นผู้นิยมในปรัชญาอนุรักษ์นิยมในพื้นที่กรุงเทพมหานคร, ภาคใต้ รวมไปถึงบางส่วนในภาคกลางและภาคเหนือตอนล่าง โดยพรรคประชาธิปัตย์และผู้สนับสนุนมักจะคัดค้านการพัฒนาประเทศในลักษณะที่รวดเร็วจนเกินไป, คัดค้านการให้สวัสดิการกับประชาชน อีกทั้งยังคัดค้านการให้อำนาจกับประชาชนหรือผู้แทนของประชาชนมากจนเกินไปเพราะพวกเขาต้องการที่จะคงอำนาจเอาไว้กับบรรดาข้าราชการมากกว่า

การต่อสู้กับฝ่ายเสรีนิยมในไทยทวีความรุนแรงขึ้นอย่างมากในสมัยที่ [[ทักษิณ ชินวัตร]] เป็นนายกรัฐมนตรี อันนำมาสู่ความไม่สงบหลายเหตุการณ์ในประเทศไทยนับตั้งแต่ปี พ.ศ.2548 จนถึงปัจจุบัน


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:17, 22 กรกฎาคม 2557

อนุรักษนิยม หรือ คติอนุรักษ์ (อังกฤษ: conservatism) โดยทั่วไปหมายถึงปรัชญาทางการเมืองที่ยึดถือเอาสิ่งดีงามในอดีตมาเป็นแนวทางในการดำเนินงานในปัจจุบัน โดยนิยมการเปลี่ยนแปลงแบบค่อยเป็นค่อยไป และส่วนใหญ่จะอยู่ตรงข้ามกับแนวคิดเสรีนิยม[1] แนวอนุรักษนิยมทางการเมืองสมัยใหม่เริ่มต้นขึ้นในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 ซึ่งเป็นปฏิกิริยาตอบสนองต่อการปฏิวัติฝรั่งเศสและการปฏิวัติอุตสาหกรรม อันนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง[2][3] พรรคการเมืองที่มีแนวคิดอนุรักษนิยมจัดเป็นพรรคอนุรักษนิยม

อนุรักษ์นิยมในประเทศไทย

พรรคประชาธิปัตย์ ถือได้ว่าเป็นพรรคอนุรักษ์นิยมที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในประเทศไทย โดยมักจะมีการทำงานสอดคล้องและสนับสนุนกันกับกลุ่มชนชั้นสูงซึ่งส่วนหนึ่งเป็นลูกหลานของอดีตผู้มีอำนาจในสมัยก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 มีฐานผู้สนับสนุนเป็นผู้นิยมในปรัชญาอนุรักษ์นิยมในพื้นที่กรุงเทพมหานคร, ภาคใต้ รวมไปถึงบางส่วนในภาคกลางและภาคเหนือตอนล่าง โดยพรรคประชาธิปัตย์และผู้สนับสนุนมักจะคัดค้านการพัฒนาประเทศในลักษณะที่รวดเร็วจนเกินไป, คัดค้านการให้สวัสดิการกับประชาชน อีกทั้งยังคัดค้านการให้อำนาจกับประชาชนหรือผู้แทนของประชาชนมากจนเกินไปเพราะพวกเขาต้องการที่จะคงอำนาจเอาไว้กับบรรดาข้าราชการมากกว่า

การต่อสู้กับฝ่ายเสรีนิยมในไทยทวีความรุนแรงขึ้นอย่างมากในสมัยที่ ทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี อันนำมาสู่ความไม่สงบหลายเหตุการณ์ในประเทศไทยนับตั้งแต่ปี พ.ศ.2548 จนถึงปัจจุบัน

อ้างอิง

  1. เดโช สวนานนท์, พจนานุกรมศัพท์การเมือง, พ.ศ. 2545, หน้า 287
  2. "conservatism", Encyclopædia Britannica 2001
  3. "conservatism", The Columbia Encyclopedia, Sixth Edition

แม่แบบ:Link GA