ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สนธิสัญญาเบอร์ลิน (ค.ศ. 1878)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
+หมวดหมู่:พ.ศ. 2421; +หมวดหมู่:สนธิสัญญาในคริสต์ศตวรรษที่ 19; +[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์บัลแกเรีย...
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Infobox treaty
| name = สนธิสัญญาเบอร์ลิน
| long_name = สนธิสัญญาระหว่างบริเตนใหญ่ ออสเตรีย-ฮังการี ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี รัสเซียและตุรกี สำหรับการชำระสะสางการงานตะวันออก
|
| image = SouthEast Europe 1878.jpg
| image_alt = <!-- alt-text here for accessibility; see [[MOS:ACCESS]] -->
| caption = ยุโรปตะวันออกเฉียงใต้หลัง[[การประชุมใหญ่เบอร์ลิน]]
|
| type =
| context = [[การประชุมใหญ่เบอร์ลิน]] หลัง[[สงครามรัสเซีย–ตุรกี (1877–78)]]
|
| date_signed = {{Start date|1878|7|13|df=y}}
| location_signed = [[เบอร์ลิน]] [[จักรวรรดิเยอรมัน]]
| negotiators = <!-- format this as a bullet list -->
| signatories = <!-- format this as a bullet list -->
| parties =
* {{flag|สหราชอาณาจักร}}
* {{flag|ออสเตรีย-ฮังการี}}
* {{flag|สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3}}
* {{flag|จักรวรรดิเยอรมัน}}
* {{flag|ราชอาณาจักรอิตาลี}}
* {{flag|จักรวรรดิรัสเซีย}}
* {{flag|จักรวรรดิออตโตมัน}}
| depositor = <!-- OR: -->
| depositories = <!-- format this as a bullet list -->
| citations = <!-- format as XX [[Article on Treaty Series|TS]] YYY -->
|
| language = <!-- OR: -->
| languages = <!-- format this as a bullet list -->
|
| wikisource = <!-- OR: -->
| wikisource1 = <!-- Up to 5 wikisourceN variables may be specified -->
}}
'''สนธสัญญาเบอร์ลิน''' เป็นบัญญัติสุดท้ายแห่ง[[การประชุมใหญ่เบอร์ลิน]] (13 มิถุนายน – 13 กรกฎาคม ค.ศ. 1878) ซึ่ง[[สหราชอาณาจักร]] [[จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี|ออสเตรีย-ฮังการี]] [[สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3|ฝรั่งเศส]] [[ราชอาณาจักรอิตาลี|อิตาลี]] [[จักรวรรดิรัสเซีย|รัสเซีย]]และ[[จักรวรรดิออตโตมัน]]ภายใต้[[สุลต่านอับดุล ฮามิดที่ 2]] ทบทวน[[สนธิสัญญาซันเสตฟาโน]]ซึ่งลงนามเมื่อวันที่ 3 มีนาคม ปีเดียวกัน ภาระสำคัญที่สุดของการประชุมใหญ่นี้คือ ตัดสินชะตาของ[[ราชรัฐบัลแกเรีย]]ซึ่งสถาปนาขึ้นในสนธิสัญญาซันสเตฟาโน แม้บัลแกเรียเองจะไม่ได้รับเชิญให้เข้าร่วมประชุมเพราะการยืนกรานของรัสเซีย ในขณะนั้น บัลแกเรียยังไม่มีอยู่บนแผนที่โลก จึงไม่อยู่ในบังคับของกฎหมายระหว่างประเทศ เช่นเดียวกับ[[ชาวบัลแกเรีย]] การกีดกันนี้เคยมีขึ้นแล้วใน[[การประชุมคอนสแตนติโนเปิล|การประชุมมหาอำนาจคอนสแตนติโนเปิล]] ซึ่งจัดขึ้นเมื่อหนึ่งปีก่อน โดยบัลแกเรียไม่ได้เข้าร่วมเช่นกัน
'''สนธสัญญาเบอร์ลิน''' เป็นบัญญัติสุดท้ายแห่ง[[การประชุมใหญ่เบอร์ลิน]] (13 มิถุนายน – 13 กรกฎาคม ค.ศ. 1878) ซึ่ง[[สหราชอาณาจักร]] [[จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี|ออสเตรีย-ฮังการี]] [[สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3|ฝรั่งเศส]] [[ราชอาณาจักรอิตาลี|อิตาลี]] [[จักรวรรดิรัสเซีย|รัสเซีย]]และ[[จักรวรรดิออตโตมัน]]ภายใต้[[สุลต่านอับดุล ฮามิดที่ 2]] ทบทวน[[สนธิสัญญาซันเสตฟาโน]]ซึ่งลงนามเมื่อวันที่ 3 มีนาคม ปีเดียวกัน ภาระสำคัญที่สุดของการประชุมใหญ่นี้คือ ตัดสินชะตาของ[[ราชรัฐบัลแกเรีย]]ซึ่งสถาปนาขึ้นในสนธิสัญญาซันสเตฟาโน แม้บัลแกเรียเองจะไม่ได้รับเชิญให้เข้าร่วมประชุมเพราะการยืนกรานของรัสเซีย ในขณะนั้น บัลแกเรียยังไม่มีอยู่บนแผนที่โลก จึงไม่อยู่ในบังคับของกฎหมายระหว่างประเทศ เช่นเดียวกับ[[ชาวบัลแกเรีย]] การกีดกันนี้เคยมีขึ้นแล้วใน[[การประชุมคอนสแตนติโนเปิล|การประชุมมหาอำนาจคอนสแตนติโนเปิล]] ซึ่งจัดขึ้นเมื่อหนึ่งปีก่อน โดยบัลแกเรียไม่ได้เข้าร่วมเช่นกัน



รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:22, 13 กรกฎาคม 2557

สนธิสัญญาเบอร์ลิน
สนธิสัญญาระหว่างบริเตนใหญ่ ออสเตรีย-ฮังการี ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี รัสเซียและตุรกี สำหรับการชำระสะสางการงานตะวันออก
ยุโรปตะวันออกเฉียงใต้หลังการประชุมใหญ่เบอร์ลิน
บริบทการประชุมใหญ่เบอร์ลิน หลังสงครามรัสเซีย–ตุรกี (1877–78)
วันลงนาม13 กรกฎาคม ค.ศ. 1878 (1878-07-13)
ที่ลงนามเบอร์ลิน จักรวรรดิเยอรมัน
ภาคี

สนธสัญญาเบอร์ลิน เป็นบัญญัติสุดท้ายแห่งการประชุมใหญ่เบอร์ลิน (13 มิถุนายน – 13 กรกฎาคม ค.ศ. 1878) ซึ่งสหราชอาณาจักร ออสเตรีย-ฮังการี ฝรั่งเศส อิตาลี รัสเซียและจักรวรรดิออตโตมันภายใต้สุลต่านอับดุล ฮามิดที่ 2 ทบทวนสนธิสัญญาซันเสตฟาโนซึ่งลงนามเมื่อวันที่ 3 มีนาคม ปีเดียวกัน ภาระสำคัญที่สุดของการประชุมใหญ่นี้คือ ตัดสินชะตาของราชรัฐบัลแกเรียซึ่งสถาปนาขึ้นในสนธิสัญญาซันสเตฟาโน แม้บัลแกเรียเองจะไม่ได้รับเชิญให้เข้าร่วมประชุมเพราะการยืนกรานของรัสเซีย ในขณะนั้น บัลแกเรียยังไม่มีอยู่บนแผนที่โลก จึงไม่อยู่ในบังคับของกฎหมายระหว่างประเทศ เช่นเดียวกับชาวบัลแกเรีย การกีดกันนี้เคยมีขึ้นแล้วในการประชุมมหาอำนาจคอนสแตนติโนเปิล ซึ่งจัดขึ้นเมื่อหนึ่งปีก่อน โดยบัลแกเรียไม่ได้เข้าร่วมเช่นกัน

สนธิสัญญาดังกล่าวรับรองเอกราชของราชรัฐเอกราชโดยพฤตินัยโรมาเนีย เซอร์เบียและมอนเตเนโกร ร่วมกับอัตตาณัติของบัลแกเรีย แม้บัลแกเรียจะทำหน้าที่เป็นเอกราชโดยพฤตินัยและถูกแบ่งเป็นสามส่วน คือ ราชรัฐบัลแกเรีย จังหวัดปกครองตนเองรูเมเลียตะวันออก และมาซิโดเนีย ซึ่งคืนให้แก่ออตโตมัน ฉะนั้นจึงทำลายแผนการของรัสเซียสำหรับ "เกรทเทอร์บัลแกเรีย" เอกราชที่นิยมรัสเซีย สนธิสัญญาซันสเตฟาโนได้สร้างรัฐบัลแกเรีย ซึ่งเป็นสิ่งที่บริเตนใหญ่และออสเตรีย-ฮังการีเกรงมากที่สุด