ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เกรปฟรูต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดแม่แบบเรียงลำดับ
KuroiSchwert (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
| binomial_authority = Macfad.
| binomial_authority = Macfad.
}}
}}

'''เกรปฟรุต''' เป็นไม้ผลกึ่งเขตร้อนในสกุล ''Citrus'' ที่เพาะปลูกเพื่อเก็บเกี่ยวผล ซึ่งแต่เดิมเคยเรียกว่า ผลไม้ต้องห้ามแห่ง[[ประเทศบาร์เบโดส|บาร์เบโดส]]
'''เกรปฟรุต''' เป็นไม้ผลกึ่งเขตร้อนในสกุล ''Citrus'' ที่เพาะปลูกเพื่อเก็บเกี่ยวผล ซึ่งแต่เดิมเคยเรียกว่า ผลไม้ต้องห้ามแห่ง[[ประเทศบาร์เบโดส|บาร์เบโดส]]



รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:54, 27 มิถุนายน 2557

เกรปฟรุต
ต้นเกรปฟรุต
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Plantae
หมวด: Magnoliophyta
ชั้น: Magnoliopsida
ชั้นย่อย: Rosidae
อันดับ: Sapindales
วงศ์: Rutaceae
สกุล: Citrus
สปีชีส์: C.  x paradisi
ชื่อทวินาม
Citrus x paradisi
Macfad.

เกรปฟรุต เป็นไม้ผลกึ่งเขตร้อนในสกุล Citrus ที่เพาะปลูกเพื่อเก็บเกี่ยวผล ซึ่งแต่เดิมเคยเรียกว่า ผลไม้ต้องห้ามแห่งบาร์เบโดส

ปกติแล้วไม้ไม่ผลัดใบชนิดนี้จะพบว่าสูงประมาณ 5-6 เมตร แต่ความจริงแล้วสามารถสูงได้ถึง 13-15 เมตร ใบมีสีเขียวเข้ม รูปร่างยาว (มากกว่า 15 เซนติเมตร) และผอม ดอกมี 4 กลีบ สีขาว ขนาด 5 เซนติเมตร ผลมีเปลือกสีเหลือง รูปกลมแป้น ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 10-15 เซนติเมตร เนื้อผลแบ่งเป็นกลีบ สีเหลืองแบบกรด

ผลเป็นที่นิยมตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 19 ก่อนหน้านั้นเพียงแต่ปลูกเป็นไม้ประดับ สหรัฐอเมริกากลายเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ มีสวนอยู่ในฟลอริดา เท็กซัส แอริโซนา และแคลิฟอร์เนีย ในภาษาสเปน ผลไม้ชนิดนี้รู้จักในชื่อว่า Toronja หรือ Pomelo

คุณค่าทางโภชนาการ

เกรปฟรุต (ผลดิบ เนื้อในสีขาว)
คุณค่าทางโภชนาการต่อ 100 กรัม (3.5 ออนซ์)
พลังงาน138 กิโลจูล (33 กิโลแคลอรี)
8.41 g
น้ำตาล7.31 g
ใยอาหาร1.1 g
0.10 g
0.69 g
วิตามิน
ไทอามีน (บี1)
(3%)
0.037 มก.
ไรโบเฟลวิน (บี2)
(2%)
0.020 มก.
ไนอาซิน (บี3)
(2%)
0.269 มก.
(6%)
0.283 มก.
วิตามินบี6
(3%)
0.043 มก.
โฟเลต (บี9)
(3%)
10 μg
วิตามินซี
(40%)
33.3 มก.
แร่ธาตุ
แคลเซียม
(1%)
12 มก.
เหล็ก
(0%)
0.06 มก.
แมกนีเซียม
(3%)
9 มก.
ฟอสฟอรัส
(1%)
8 มก.
โพแทสเซียม
(3%)
148 มก.
สังกะสี
(1%)
0.07 มก.
องค์ประกอบอื่น
น้ำ90.48 g
Manganese0.013 mg
ประมาณร้อยละคร่าว ๆ โดยใช้การแนะนำของสหรัฐสำหรับผู้ใหญ่
แหล่งที่มา: USDA FoodData Central

การใช้ประโยชน์อื่น

จากการศึกษาทางเภสัชพลศาสตร์ พบว่าเมื่อใช้เกรปฟรุตควบคู่ไปกับการใช้ยารักษามะเร็ง สามารถช่วยลดตัวยาบางชนิดได้ จึงช่วยทำให้ผู้ป่วยมะเร็งประหยัดค่าใช้จ่ายในการรักษา[1][2]

อ้างอิง

  1. Allison Gandey (18 กรกฎาคม พ.ศ. 2550). "Cut Cancer Drug Costs By Exploring Food Interactions". Medscape Medical News. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  2. Sydney Lupkin (7 สิงหาคม พ.ศ. 2555). "Grapefruit Juice Could Help Cancer Patients Save Money". ABCNews.com. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น