ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พิธีมหาสนิทศักดิ์สิทธิ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ความไม่แตกฉานของศิษยาภิบาล
DanMTaylor (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มอ้างอิง
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Eucharist.jpg|thumb|พิธีมหาสนิทเป็นพิธีศักดิ์สิทธิ์ในศาสนาคริสต์ เพื่อแสดงถึงการร่วมสนิทกับพระเยซู โดยการรับประทานขนมปัง (สัญลักษณ์แทนพระกายของพระองค์) และเหล้าองุ่น (สัญลักษณ์แทนพระโลหิต)]]
[[ไฟล์:Eucharist.jpg|thumb|พิธีมหาสนิทเป็นพิธีศักดิ์สิทธิ์ในศาสนาคริสต์ เพื่อแสดงถึงการร่วมสนิทกับพระเยซู โดยการรับประทานขนมปัง (สัญลักษณ์แทนพระกายของพระองค์) และเหล้าองุ่น (สัญลักษณ์แทนพระโลหิต)]]
'''พิธีมหาสนิทศักดิ์สิทธิ์'''<ref name="พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน">ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 248</ref> หรือ'''พิธีมหาสนิท'''<ref>สมาคมพระคริสตธรรมไทย, พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับมาตรฐาน 2011</ref>({{lang-en|Eucharist; Holy Communion}}) [[คริสต์ศาสนิกชน]][[โรมันคาทอลิก]]และ[[โปรเตสแตนต์]]บางคณะเรียกว่า'''ศีลมหาสนิท'''<ref name="พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน"/> เป็น[[พิธีศักดิ์สิทธิ์]]ใน[[ศาสนาคริสต์]] เพื่อแสดงถึงการร่วมสนิทกับ[[พระเยซู]] โดยการรับประทาน[[ขนมปัง]] (สัญลักษณ์แทนพระกายของพระองค์) และ[[ไวน์]] (สัญลักษณ์แทนพระโลหิต)
'''พิธีมหาสนิทศักดิ์สิทธิ์'''<ref name="พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน">ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 248</ref> หรือ'''พิธีมหาสนิท'''<ref>สมาคมพระคริสตธรรมไทย, พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับ 1971, ลูกา, หน้า 133</ref><ref>สมาคมพระคริสตธรรมไทย, พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับมาตรฐาน 2011</ref>({{lang-en|Eucharist; Holy Communion}}) [[คริสต์ศาสนิกชน]][[โรมันคาทอลิก]]และ[[โปรเตสแตนต์]]บางคณะเรียกว่า'''ศีลมหาสนิท'''<ref name="พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน"/><ref>สมาคมพระคริสตธรรมไทย, พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับ 1971, มัทธิว, หน้า 46</ref> เป็น[[พิธีศักดิ์สิทธิ์]]ใน[[ศาสนาคริสต์]] เพื่อแสดงถึงการร่วมสนิทกับ[[พระเยซู]] โดยการรับประทาน[[ขนมปัง]] (สัญลักษณ์แทนพระกายของพระองค์) และ[[ไวน์]] (สัญลักษณ์แทนพระโลหิต)


การประกอบพิธีมหาสนิท เพื่อให้ชาวคริสต์ระลึกถึงคุณของ[[พระเป็นเจ้า]] เพื่อการประกาศยอมรับว่าพระเจ้าได้สถิตอยู่ในกายตน เพื่อแนบแน่นเป็นหนึ่งเดียวกับพระองค์ และเพื่ออยู่ร่วมกันด้วยความรักในประชาคมเดียวกัน
การประกอบพิธีมหาสนิท เพื่อให้ชาวคริสต์ระลึกถึงคุณของ[[พระเป็นเจ้า]] เพื่อการประกาศยอมรับว่าพระเจ้าได้สถิตอยู่ในกายตน เพื่อแนบแน่นเป็นหนึ่งเดียวกับพระองค์ และเพื่ออยู่ร่วมกันด้วยความรักในประชาคมเดียวกัน

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:08, 16 มิถุนายน 2557

ไฟล์:Eucharist.jpg
พิธีมหาสนิทเป็นพิธีศักดิ์สิทธิ์ในศาสนาคริสต์ เพื่อแสดงถึงการร่วมสนิทกับพระเยซู โดยการรับประทานขนมปัง (สัญลักษณ์แทนพระกายของพระองค์) และเหล้าองุ่น (สัญลักษณ์แทนพระโลหิต)

พิธีมหาสนิทศักดิ์สิทธิ์[1] หรือพิธีมหาสนิท[2][3](อังกฤษ: Eucharist; Holy Communion) คริสต์ศาสนิกชนโรมันคาทอลิกและโปรเตสแตนต์บางคณะเรียกว่าศีลมหาสนิท[1][4] เป็นพิธีศักดิ์สิทธิ์ในศาสนาคริสต์ เพื่อแสดงถึงการร่วมสนิทกับพระเยซู โดยการรับประทานขนมปัง (สัญลักษณ์แทนพระกายของพระองค์) และไวน์ (สัญลักษณ์แทนพระโลหิต)

การประกอบพิธีมหาสนิท เพื่อให้ชาวคริสต์ระลึกถึงคุณของพระเป็นเจ้า เพื่อการประกาศยอมรับว่าพระเจ้าได้สถิตอยู่ในกายตน เพื่อแนบแน่นเป็นหนึ่งเดียวกับพระองค์ และเพื่ออยู่ร่วมกันด้วยความรักในประชาคมเดียวกัน

ที่มา

พิธีมหาสนิทมีที่มาจากเหตุการณ์ในคืนวันพฤหัสบดีศักดิ์สิทธิ์ก่อนการตรึงพระเยซูที่กางเขน ขณะนั้นพระเยซูรับประทานอาหารร่วมกับอัครทูตอันเป็นอาหารค่ำมื้อสุดท้าย ในการรับประทานอาหารครั้งนั้นอยู่ในช่วงปัสคา มีเพียงขนมปังและเหล้าองุ่น ซึ่งพระองค์ใช้เป็นสัญลักษณ์แห่งพันธสัญญาใหม่ ในการไถ่บาปด้วยเนื้อและเลือดของพระองค์ดังที่ทรงพยากรณ์ไว้แล้ว

ในพระวรสารนักบุญมัทธิว

"ระหว่างอาหารมื้อนั้น พระเยซูทรงหยิบขนมปังมา และเมื่อถวายสาธุการแล้ว ทรงหักส่งให้กับเหล่าสาวก ตรัสว่า 'จงรับกินเถิด นี่เป็นกายของเรา' แล้วพระองค์จึงทรงหยิบถ้วยโมทนาพระคุณและส่งให้เขา ตรัสว่า 'จงรับไปดื่มทุกคนเถิด ด้วยว่านี่เป็นโลหิตของเรา อันเป็นโลหิตแห่งพันธสัญญา ซึ่งต้องหลั่งออกเพื่อยกบาปโทษคนเป็นอันมาก เราบอกท่านทั้งหลายว่า เราจะไม่ดื่มน้ำผลแห่งเถาองุ่นต่อไปอีกจนวันนั้นมาถึง คือวันที่เราจะดื่มกันใหม่กับพวกท่านในแผ่นดินแห่งพระบิดาของเรา'" [5]

ในพระวรสารนักบุญลูกา

"พระองค์ตรัสกับเขาว่า 'เรามีความปรารถนาอย่างยิ่งที่จะกินปัสกานี้กับพวกท่าน ก่อนเราจะต้องทนทุกข์ทรมาน ด้วยเราบอกท่านทั้งหลายว่า เราจะไม่กินปัสกานี้อีก จนกว่าจะสำเร็จความหมายของปัสกานั้น ในแผ่นดินของพระเจ้า' พระองค์ทรงหยิบถ้วยโมทนาพระคุณ แล้วตรัสว่า 'จงรับถ้วยนี้แบ่งกันดื่ม เพราะบอกบอกท่านทั้งหลายว่า เราจะไม่ดื่มผลแห่งเถาองุ่นต่อไปอีก จนกว่าแผ่นดินของพระเจ้าจะมา' พระองค์ทรงหยิบขนมปังโมทนาพระคุณ แล้วหักส่งให้แก่เขาทั้งหลาย ตรัสว่า 'นี่เป็นกายของเรา ซึ่งได้ให้ท่านทั้งหลาย จงกระทำอย่างนี้ให้เป็นที่ระลึกถึงเรา' เมื่อรับประทานแล้ว จึงทรงหยิบถ้วย กระทำเหมือนกัน ตรัสว่า 'ถ้วยนี้ซึ่งเทออกเพื่อท่านทั้งหลาย เป็นคำสัญญาใหม่ โดยโลหิตของเรา ...'" [6]

ในบทจดหมายของนักบุญเปาโล

" ... เพราะว่าเรื่องซึ่งข้าพเจ้าได้มอบไว้กับท่านแล้วนั้น ข้าพเจ้าได้รับจากองค์พระผู้เป็นเจ้า คือในคืนที่เขาอายัดพระเยซูเจ้านั้น พระองค์ทรงหยิบขนมปัง ครั้งขอบพระคุณแล้ว จึงตรัสทรงหักแล้วตรัสว่า 'นี่เป็นกายของเรา ซึ่งให้แก่ท่านทั้งหลาย จงกระทำอย่างนี้ให้เป็นที่ระลึกถึงเรา' เมื่อรับประทานแล้ว พระองค์จึงทรงงหยิบถ้วยด้วยอาการอย่างเดียวกัน ตรัสว่า 'ถ้วยนี้คือพันธสัญญาใหม่ โดยโลหิตของเรา เมื่อท่านดื่มจากถ้วยนี้เวลาใด จงดื่มเป็นที่ระลึกถึงเรา' เพราะว่าเมื่อท่านทั้งหลายกินขนมปังนี้และดื่มจากถ้วยนี้เวลาใด ท่านก็ประกาศการวายพระชนม์ขององค์พระผู้เป็นเจ้า จนถึงพระองค์เสด็จมา เหตุฉะนั้นถ้าผู้ใดกินขนมปังหรือดื่มจากถ้วยขององค์พระผู้เป็นเจ้าอย่างไม่สมควร ผู้นั้นก็ทำผิดต่อพระกายและพระโลหิตขององค์พระผู้เป็นเจ้า ขอให้ทุกคนพิจารณาตนเอง แล้วจึงกินขนมปังและดื่มจากถ้วยนี้ เพราะว่าคนที่กินและดื่มโดยมิได้เล็งเห็นพระกายขององค์พระผู้เป็นเจ้า ก็กินและดื่มเป็นเหตุให้ตนเองถูกพิพากษาโทษ ด้วยเหตุนี้พวกท่านหลายคนจึงอ่อนกำลังและป่วยไข้ และบ้างก็ล่วงหลับไป แต่ถ้าพวกเราพิจารณาตัวเราเอง เราคงไม่ต้องถูกทำโทษ เมื่อองค์พระผู้เป็นเจ้าทรงทำโทษเรานั้น พระองค์ทรงตีสอนเรา เพื่อมิให้เราถูกทรงพิพากษาลงโทษด้วยกันกับโลก ดูก่อนพี่น้องของข้าพเจ้า ด้วยเหตุนี้เมื่อท่านมาร่วมประชุมรับประทานอาหารนั้น จงคอยซึ่งกันและกัน ถ้ามีใครหิว ก็ให้เขากินที่บ้านเสียก่อน เพื่อเมื่อมาประชุมกัน ท่านจะได้ไม่ถูกทรงพิพากษาลงโทษ ... " [7][8]

พระองค์ทรงประกาศว่าขนมปังเล็งถึงพระกายของพระองค์ซึ่งจะต้องแตกหัก – ไม่มีกระดูกที่แตกหัก แต่พระกายของพระองค์ต้องแตกหักเสียหายมากมายเสียจนแทบจะจำไม่ได้ [9] [10] น้ำองุ่นเล็งถึงพระโลหิตของพระองค์ มันบ่งชี้ถึงการสิ้นพระชนม์ที่โหดร้ายที่พระองค์จะได้รับในไม่ช้า พระองค์ - พระบุตรผู้ไร้ตำหนิของพระเจ้า - ทรงทำให้คำพยากรณ์ที่มีปรากฏอยู่ในพันธสัญญาเดิมหลายครั้งจนนับไม่ถ้วนเกี่ยวกับพระผู้ไถ่ [11][12][13] สำเร็จลง เมื่อพระองค์ตรัสว่า “จงทำเช่นนี้เพื่อเป็นที่ระลึกถึงเรา” มันเป็นการแสดงให้เห็นว่านี่คือพิธีที่จะต้องดำเนินต่อไปในอนาคต นอกจากนั้นมันยังแสดงให้เห็นด้วยว่าพิธีปัสกา - ซึ่งต้องใช้แกะที่ตายแล้วและเล็งไปข้างหน้า ถึงพระเมษโปดกของพระเจ้าผู้ที่จะเสด็จมาเอาความบาปออกไปจากโลก - เก่าพ้นสมัยไปแล้ว พันธสัญญาใหม่ได้เข้ามาแทนที่เมื่อพระคริสต์ – แกะปัสกา - [14] ได้ถูกนำมาเป็นเครื่องถวายบูชา[15] ระบบการถวาบบูชาจึงไม่มีความจำเป็นอีกต่อไป[16]

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 248
  2. สมาคมพระคริสตธรรมไทย, พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับ 1971, ลูกา, หน้า 133
  3. สมาคมพระคริสตธรรมไทย, พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับมาตรฐาน 2011
  4. สมาคมพระคริสตธรรมไทย, พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับ 1971, มัทธิว, หน้า 46
  5. มัทธิว 26:26 -30
  6. ลูกา 22:15 -20
  7. โครินธ์ 1 โครินธ์ 11:23 -24
  8. มาระโก 14:23 -26
  9. สดุดี 22:12-17
  10. 53:4-7
  11. 3:15 ปฐมกาล 3:15 {{{3}}}:{{{4}}}
  12. 22 {{{3}}}:{{{4}}}
  13. 53 {{{3}}}:{{{4}}}
  14. 1 โครินธ์ 5:7
  15. ฮีบรู 8:8-13
  16. ฮีบรู 9:25-28


แม่แบบ:Link FA