ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มูซาชิ (นวนิยาย)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
ป้ายระบุ: เพิ่มยูอาร์แอล wikipedia.org
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
{{Expand language| langcode = en | otherarticle = Musashi (novel) | lang = ภาษาอังกฤษ }}
{{Expand language| langcode = en | otherarticle = Musashi (novel) | lang = ภาษาอังกฤษ }}


'''มูซาชิ'''<ref>http://wiki.samurai-archives.com/</ref> เป็นนวนิยายญี่ปุ่น ที่ประพันธ์โดย[[เอจิ โยะชิกะวะ]]
'''มูซาชิ'''<ref>[http://wiki.samurai-archives.com The Samurai Archives Samurai Wiki]</ref> เป็นนวนิยายญี่ปุ่น ที่ประพันธ์โดย[[เอจิ โยะชิกะวะ]]


มูซาชิเป็นนักดาบที่มีชื่อเสียงเกิดในเขต ฮาริมา มีชื่อเดิมว่า ทาเกโซ ในตระกูล ชินเม็ง การต่อสู้ที่ท้องทุ่งพิฆาต เซกิงาฮารา กลับกลายชีวิตของเขา ชื่อที่เป็นที่รู้จักของเขาคือ มิยาโมโต้ มูซาชิ {{lang|ja|(宮元武蔵)}} เขาเป็นนักดาบที่มีชื่อเสียง และบรรลุผลสูง ด้วยการเป็นครูทางจิตใจ มูซาชิ เป็นนักต่อสู้ธรรมดา ที่ต่อสู้เพื่อชนะ ชีวิตของเขาเป็นเรื่องจริง ทั้งเป็นนิยายอย่างยิ่ง ระดับวรรณกรรม และระดับโลก มูซาชิผ่านการต่อสู้ด้วยการเอาชีวิตเป็นเดิมพันมากกว่า 60 ครั้ง เขามีความสามารถที่จะรบชนะ และมีความสูงสุดกว่าความเชี่ยวชาญในวิชาคัมภีร์ดาบแบบเก่า นิยายอิงประวัติศาสตร์เรื่องมูซาชิ ในภาษาไทย และที่ประเทศไทย ประชาชนที่รู้จักเรียกชื่อว่า หนังสือ มูซาชิ ฉบับท่าพระจันทร์ ซึ่งเป็นความสามารถและพิมพ์มาจาก สำนักพิมพ์คบไฟ มูซาชิมีช่วงชีวิตอยู่ระหว่างปี ค.ศ.1584-1645 และหนังสือคัมภีร์ห้าห่วงก็เขียนขึ้น ในปีเดียวกันกับปีที่เขาได้เสียชีวิต มูซาชิหนังสืออมตะนิยายเป็นที่นิยมอย่างล้นหลามใน หนังสือมูซาชิฉบับอมตะนิยาย ของ โยชิคาว่า เอญิ ได้รับการแปลอย่างมาก ในเรื่องการต่อสู้ของสำนักโยชิโอกะ และการต่อสู้แบบซามูไรกับ ซาซากิ โคยิโร่ เพราะความนิยมจิตใจซามูไร คำประพันธ์ ในหนังสือมีความได้รับการยอมรับว่างดงามดุจดอกซากุระที่มีจิตวิญญาณทางอุดมคติที่แข็งแกร่ง และวิถีบูชิโดของนักรบ ก็ได้รับความนับถือมาจาก มูซาชิ ซึ่งมีทั้งเรื่องจริง และที่ออกมาเป็นนิยายแบบวรรณกรรม
หนังสือเรื่องมูซาชิ เล่าว่า มูซาชิเป็นบุตรของนักรบที่เกิดในเขต ฮาริมา มีชื่อเดิมว่า ทาเกโซ เกิดในตระกูล ชินเม็ง เหตุการณ์การต่อสู้ในท้องทุ่งพิฆาต เซกิงาฮารา กลับกลายและเปลี่ยนแปลงชีวิตของเขา ชื่อที่เป็นที่รู้จักของเขาคือ มิยาโมโต้ มูซาชิ {{lang|ja|(宮元武蔵)}}<ref>[http://ja.wikipedia.org/wiki/%E5%AE%AE%E6%9C%AC%E6%AD%A6%E8%94%B5 มิยาโมโต้ มูซาชิ]</ref> เขาเป็นนักดาบที่มีชื่อเสียง ถึงกระทั่งบั้นปลายของชีวิตก็บรรลุผลสูงสุด ด้วยการเป็นครูทางจิตใจ มูซาชิ เป็นนักต่อสู้ธรรมดา ที่ต่อสู้เพื่อชนะ แต่ชีวิตของเขาเป็นทั้งเรื่องจริง ทั้งเป็นนิยายอย่างยิ่ง ที่ระดับวรรณกรรม และระดับโลก มูซาชิผ่านการต่อสู้ด้วยการเอาชีวิตเป็นเดิมพันมากกว่า 60 ครั้ง เขามีความสามารถที่จะรบชนะ และมีความสูงสุดในวิชาการต่อสู้มากกว่าความเชี่ยวชาญในวิชาคัมภีร์ดาบแบบเก่า นิยายอิงประวัติศาสตร์เรื่องมูซาชิ ในภาษาไทย ประชาชนให้ความรู้จักและเรียกชื่อว่า หนังสือ มูซาชิ ฉบับท่าพระจันทร์ ซึ่งเป็นหนังสือที่แปลโดยนักเขียนที่ชำนาญวิชาการต่อสู้และภาษาญี่ปุ่น<ref>[http://econ.tu.ac.th/class/archan/Suvinai/CV/Suvinai_thai.pdf นาย สุวินัย ภรณวลัย]</ref> จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์คบไฟ ตามประวัติในหนังสือ เชื่อว่ามูซาชิมีช่วงชีวิตอยู่ระหว่างปี ค.ศ.1584-1645 และบันทึกคัมภีร์ห้าห่วงก็เช่นกัน ได้ถูกเขียนขึ้น ในปีเดียวกันกับปีที่เขาเสียชีวิต เรื่องราวของมูซาชิในหนังสืออมตะนิยายเป็นเป็นสิ่งที่สร้างความประทับใจ เร้าใจ และเป็นที่นิยมกันอย่างล้นหลาม หนังสือมูซาชิฉบับอมตะนิยาย ของ [[เอจิ โยะชิกะวะ|โยชิคาว่า เอญิ]] ได้รับการแปลอย่างมาก ในเรื่องการต่อสู้ของสำนักโยชิโอกะ และการต่อสู้แบบซามูไรกับ [[ซะซะกิ โคะจิโร|ซาซากิ โคยิโร่]] เพราะความนิยมจิตใจแบบซามูไร กระทั้งคำประพันธ์ ในหนังสือก็ได้รับการยกย่องและได้รับการยอมรับว่างดงามดุจดอกซากุระที่มีจิตวิญญาณทางอุดมคติที่แข็งแกร่ง และวิถีบูชิโดของนักรบ<ref>[http://library2.nittai.ac.jp/dspace/bitstream/11015/1059/1/41-2-199-211.pdf Teruo Machida ภาควิชาภาษาต่างประเทศ]</ref>เอง ก็ได้รับความนับถือมาจาก เรื่องมูซาชิ ซึ่งมีทั้งเรื่องจริง และที่ออกมาเป็นนิยายแบบ[[วรรณกรรม]]
== สารบัญนิยายอิงประวัติศาสตร์เรื่องมูซาชิ<ref>Kobfai Publishing Project is a part the Foundation for Democracy and Development Studies (FDDS)</ref> ==
== สารบัญนิยายอิงประวัติศาสตร์เรื่องมูซาชิ<ref>Kobfai Publishing Project is a part the Foundation for Democracy and Development Studies (FDDS)</ref> ==
[[ไฟล์:มูซาชิ.jpg|thumb|right|98.1892px|หนังสือมูซาชิฉบับท่าพระจันทร์]]
[[ไฟล์:มูซาชิ.jpg|thumb|right|98.1892px|หนังสือมูซาชิฉบับท่าพระจันทร์]]
บรรทัด 14: บรรทัด 14:
* ภาครู้แจ้ง
* ภาครู้แจ้ง
* ภาคผนวก ว่าด้วยมูซาชิ
* ภาคผนวก ว่าด้วยมูซาชิ
== อ้างอิง ==
== รายการอ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:24, 5 มิถุนายน 2557

มูซาชิ[1] เป็นนวนิยายญี่ปุ่น ที่ประพันธ์โดยเอจิ โยะชิกะวะ

หนังสือเรื่องมูซาชิ เล่าว่า มูซาชิเป็นบุตรของนักรบที่เกิดในเขต ฮาริมา มีชื่อเดิมว่า ทาเกโซ เกิดในตระกูล ชินเม็ง เหตุการณ์การต่อสู้ในท้องทุ่งพิฆาต เซกิงาฮารา กลับกลายและเปลี่ยนแปลงชีวิตของเขา ชื่อที่เป็นที่รู้จักของเขาคือ มิยาโมโต้ มูซาชิ (宮元武蔵)[2] เขาเป็นนักดาบที่มีชื่อเสียง ถึงกระทั่งบั้นปลายของชีวิตก็บรรลุผลสูงสุด ด้วยการเป็นครูทางจิตใจ มูซาชิ เป็นนักต่อสู้ธรรมดา ที่ต่อสู้เพื่อชนะ แต่ชีวิตของเขาเป็นทั้งเรื่องจริง ทั้งเป็นนิยายอย่างยิ่ง ที่ระดับวรรณกรรม และระดับโลก มูซาชิผ่านการต่อสู้ด้วยการเอาชีวิตเป็นเดิมพันมากกว่า 60 ครั้ง เขามีความสามารถที่จะรบชนะ และมีความสูงสุดในวิชาการต่อสู้มากกว่าความเชี่ยวชาญในวิชาคัมภีร์ดาบแบบเก่า นิยายอิงประวัติศาสตร์เรื่องมูซาชิ ในภาษาไทย ประชาชนให้ความรู้จักและเรียกชื่อว่า หนังสือ มูซาชิ ฉบับท่าพระจันทร์ ซึ่งเป็นหนังสือที่แปลโดยนักเขียนที่ชำนาญวิชาการต่อสู้และภาษาญี่ปุ่น[3] จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์คบไฟ ตามประวัติในหนังสือ เชื่อว่ามูซาชิมีช่วงชีวิตอยู่ระหว่างปี ค.ศ.1584-1645 และบันทึกคัมภีร์ห้าห่วงก็เช่นกัน ได้ถูกเขียนขึ้น ในปีเดียวกันกับปีที่เขาเสียชีวิต เรื่องราวของมูซาชิในหนังสืออมตะนิยายเป็นเป็นสิ่งที่สร้างความประทับใจ เร้าใจ และเป็นที่นิยมกันอย่างล้นหลาม หนังสือมูซาชิฉบับอมตะนิยาย ของ โยชิคาว่า เอญิ ได้รับการแปลอย่างมาก ในเรื่องการต่อสู้ของสำนักโยชิโอกะ และการต่อสู้แบบซามูไรกับ ซาซากิ โคยิโร่ เพราะความนิยมจิตใจแบบซามูไร กระทั้งคำประพันธ์ ในหนังสือก็ได้รับการยกย่องและได้รับการยอมรับว่างดงามดุจดอกซากุระที่มีจิตวิญญาณทางอุดมคติที่แข็งแกร่ง และวิถีบูชิโดของนักรบ[4]เอง ก็ได้รับความนับถือมาจาก เรื่องมูซาชิ ซึ่งมีทั้งเรื่องจริง และที่ออกมาเป็นนิยายแบบวรรณกรรม

สารบัญนิยายอิงประวัติศาสตร์เรื่องมูซาชิ[5]

หนังสือมูซาชิฉบับท่าพระจันทร์
  • ภาคดิน
  • ภาคน้ำ
  • ภาคไฟ
  • ภาคลม
  • ภาคสุญญตา
  • ภาครู้แจ้ง
  • ภาคผนวก ว่าด้วยมูซาชิ

รายการอ้างอิง