ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไฮโปทาลามัส"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดแม่แบบเรียงลำดับ
CommonsDelinker (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ภาพ Illu_diencephalon_.jpg ด้วย Illu_diencephalon.jpg จากวิกิพีเดียคอมมอนส์
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
| Image = LocationOfHypothalamus.jpg
| Image = LocationOfHypothalamus.jpg
| Caption = ตำแหน่งของไฮโปทาลามัสของมนุษย์
| Caption = ตำแหน่งของไฮโปทาลามัสของมนุษย์
| Image2 = Illu diencephalon .jpg
| Image2 =Illu_diencephalon.jpg
| Caption2 = ไอเอนเซฟาลอน (Dienchephalon)
| Caption2 = ไอเอนเซฟาลอน (Dienchephalon)
| IsPartOf =
| IsPartOf =

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:44, 1 มิถุนายน 2557

ไฮโปทาลามัส
(Hypothalamus)
ตำแหน่งของไฮโปทาลามัสของมนุษย์
ไอเอนเซฟาลอน (Dienchephalon)
รายละเอียด
ตัวระบุ
ภาษาละตินhypothalamus
MeSHD007031
นิวโรเล็กซ์ IDbirnlex_734
TA98A14.1.08.401
A14.1.08.901
TA25714
FMA62008
ศัพท์ทางกายวิภาคของประสาทกายวิภาคศาสตร์

ไฮโปทาลามัส (อังกฤษ: hypothalamus) มาจากภาษากรีก ὑποθαλαμος แปลว่า ใต้ทาลามัส เป็นโครงสร้างของสมองที่อยู่ใต้ทาลามัส (thalamus) แต่เหนือก้านสมอง (brain stem) ทำหน้าที่เชื่อมโยงการทำงานของระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ โครงสร้างนี้เป็นโครงสร้างหลักที่อยู่ด้านล่างของไดเอนเซฟาลอน (diencephalon) พบในสมองของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมทุกชนิด ในมนุษย์มีขนาดประมาณเมล็ดอัลมอนด์

ไฮโปทาลามัสทำหน้าที่ควบคุมกระบวนการเมแทบอลิซึมบางอย่าง และหน้าที่อื่นๆ ของระบบประสาทอิสระ (Autonomic Nervous System) ไฮโปทาลามัสทำหน้าที่สังเคราะห์และหลั่งฮอร์โมนประสาท (neurohormones) ซึ่งมักเรียกว่า hypothalamic-releasing hormones ซึ่งทำหน้าที่ในการกระตุ้นหรือยับยั้งการหลั่งฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง (pituitary gland)

ไฮโปทาลามัสทำหน้าที่ควบคุมอุณหภูมิร่างกาย, ความหิว, ความกระหายน้ำ[1], ความเหนื่อยล้า, ความโกรธ และจังหวะรอบวัน (Circadian rhythm)

ภาพอื่นๆ

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น