ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การแจกแจงความน่าจะเป็น"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: ในความน่าจะเป็นและสถิติศาสตร์ '''การแจกแจงความน่าจะเป็น'''กำห...
 
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต: ลิงก์บทความคัดสรร mk:Веројатносен распоред; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
ในความน่าจะเป็นและสถิติศาสตร์ '''การแจกแจงความน่าจะเป็น'''กำหนด[[ความน่าจะเป็น]]ให้เซตย่อยของผลลัพธ์การทดลองสุ่ม การสำรวจหรือวิธีอนุมานทางสถิติที่วัดได้ทั้งหมด ตัวอย่างการแจกแจงความน่าจะเป็นพบได้ในการทดลองที่[[ปริภูมิตัวอย่าง]]ไม่เป็นตัวเลข ซึ่งการแจกแจงจะเป็น[[categorical distribution|การแจกแจงประเภท]], การทดลองที่ปริภูมิตัวอย่างเข้ารหัสด้วย[[ตัวแปรสุ่ม]]วิยุต ซึ่งการแจกแจงสามารถระบุได้ด้วย[[ฟังก์ชันมวลของความน่าจะเป็น]], และการทดลองที่ปริภูมิตัวอย่างเข้ารหัสด้วยตัวแปรสุ่มต่อเนื่อง ซึ่งการแจกแจงสามารถเจาะจงได้ด้วย[[ฟังก์ชันความหนาแน่นของความน่าจะเป็น]] การทดลองที่ซับซ้อนกว่า เช่น การทดลองที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสโทแคสติกที่นิยามในเวลาต่อเนื่อง อาจต้องใช้[[probability measure|เมเชอร์ความน่าจะเป็น]]ที่เจาะจงน้อยกว่า
ในความน่าจะเป็นและสถิติศาสตร์ '''การแจกแจงความน่าจะเป็น'''กำหนด[[ความน่าจะเป็น]]ให้เซตย่อยของผลลัพธ์การทดลองสุ่ม การสำรวจหรือวิธีอนุมานทางสถิติที่วัดได้ทั้งหมด ตัวอย่างการแจกแจงความน่าจะเป็นพบได้ในการทดลองที่[[ปริภูมิตัวอย่าง]]ไม่เป็นตัวเลข ซึ่งการแจกแจงจะเป็น[[categorical distribution|การแจกแจงประเภท]], การทดลองที่ปริภูมิตัวอย่างเข้ารหัสด้วย[[ตัวแปรสุ่ม]]วิยุต ซึ่งการแจกแจงสามารถระบุได้ด้วย[[ฟังก์ชันมวลของความน่าจะเป็น]], และการทดลองที่ปริภูมิตัวอย่างเข้ารหัสด้วยตัวแปรสุ่มต่อเนื่อง ซึ่งการแจกแจงสามารถเจาะจงได้ด้วย[[ฟังก์ชันความหนาแน่นของความน่าจะเป็น]] การทดลองที่ซับซ้อนกว่า เช่น การทดลองที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสโทแคสติกที่นิยามในเวลาต่อเนื่อง อาจต้องใช้[[probability measure|เมเชอร์ความน่าจะเป็น]]ที่เจาะจงน้อยกว่า
{{โครงคณิตศาสตร์}}


[[หมวดหมู่:การแจกแจงความน่าจะเป็น]]
[[หมวดหมู่:การแจกแจงความน่าจะเป็น]]

{{โครงคณิตศาสตร์}}
{{Link FA|mk}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:13, 29 พฤษภาคม 2557

ในความน่าจะเป็นและสถิติศาสตร์ การแจกแจงความน่าจะเป็นกำหนดความน่าจะเป็นให้เซตย่อยของผลลัพธ์การทดลองสุ่ม การสำรวจหรือวิธีอนุมานทางสถิติที่วัดได้ทั้งหมด ตัวอย่างการแจกแจงความน่าจะเป็นพบได้ในการทดลองที่ปริภูมิตัวอย่างไม่เป็นตัวเลข ซึ่งการแจกแจงจะเป็นการแจกแจงประเภท, การทดลองที่ปริภูมิตัวอย่างเข้ารหัสด้วยตัวแปรสุ่มวิยุต ซึ่งการแจกแจงสามารถระบุได้ด้วยฟังก์ชันมวลของความน่าจะเป็น, และการทดลองที่ปริภูมิตัวอย่างเข้ารหัสด้วยตัวแปรสุ่มต่อเนื่อง ซึ่งการแจกแจงสามารถเจาะจงได้ด้วยฟังก์ชันความหนาแน่นของความน่าจะเป็น การทดลองที่ซับซ้อนกว่า เช่น การทดลองที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสโทแคสติกที่นิยามในเวลาต่อเนื่อง อาจต้องใช้เมเชอร์ความน่าจะเป็นที่เจาะจงน้อยกว่า

แม่แบบ:Link FA