ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบบเผด็จการโดยเสียงข้างมาก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''ระบบเผด็จการโดยเสียงข้างมาก''' '''ทรราชเสียงข้างมาก''' หรือ '''ทรราชโดยเสียงส่วนใหญ่''' ({{lang-en|Tyranny of the majority}}) เป็นคำใช้ในการอภิปรายระบบบ[[ประชาธิปไตย]]และการปกครองโดยเสียงข้างมาก โดยบรรยายถึงกรณีที่การตัดสินใจของเสียงข้างมากยึดผลประโยชน์ของตนเหนือผลประโยชน์ของปัจเจกบุคคลหรือกลุ่มเสียงข้างน้อยมากจนกลายเป็นการบีบบังคับ (opression) เปรียบได้กับทรราชหรือ[[ระบบใช้อำนาจเด็ดขาด]]<ref>John Stuart Mill. [http://books.google.com/books?id=f14SAAAAIAAJ&dq=%22John+Stuart+Mill%22+%22On+Liberty%22+%22tyranny+of+the+majority%22&printsec=frontcover&source=bn&hl=en&ei=9QotTKaHO5CTnQetrpS1Aw&sa=X&oi=book_result&ct=result&resnum=4&ved=0CCMQ6AEwAw#v=onepage&q&f=false On Liberty, The Library of Liberal Arts edition, p.7.]</ref>
'''ระบบเผด็จการโดยเสียงข้างมาก''' '''ทรราชเสียงข้างมาก''' หรือ '''ทรราชโดยเสียงส่วนใหญ่''' ({{lang-en|Tyranny of the majority}}) เป็นคำใช้ในการอภิปรายระบบบ[[ประชาธิปไตย]]และการปกครองโดยเสียงข้างมาก โดยบรรยายถึงกรณีที่การตัดสินใจของเสียงข้างมากยึดผลประโยชน์ของตนเหนือผลประโยชน์ของปัจเจกบุคคลหรือกลุ่มเสียงข้างน้อยมากจนกลายเป็นการบีบบังคับ (opression) เปรียบได้กับทรราชหรือ[[ระบบใช้อำนาจเด็ดขาด]]<ref>John Stuart Mill. [http://books.google.com/books?id=f14SAAAAIAAJ&dq=%22John+Stuart+Mill%22+%22On+Liberty%22+%22tyranny+of+the+majority%22&printsec=frontcover&source=bn&hl=en&ei=9QotTKaHO5CTnQetrpS1Aw&sa=X&oi=book_result&ct=result&resnum=4&ved=0CCMQ6AEwAw#v=onepage&q&f=false On Liberty, The Library of Liberal Arts edition, p.7.]</ref>

มีการนำหลักเกินกึ่งหนึ่ง (supermajority) การจำกัดอำนาจของสภานิติบัญญัติ และการริเริ่ม[[บัญญัติว่าด้วยสิทธิพื้นฐานของพลเมือง]]มาใช้ตอบโต้ปัญหาที่รับรู้ดังกล่าว<ref name="Przeworski">A Przeworski, JM Maravall, I NetLibrary ''[http://books.google.com/books?id=EMB-F6Forx8C Democracy and the Rule of Law]'' (2003) p.223</ref> [[การแยกใช้อำนาจ]]ถูกนำมาใช้เพื่อป้องกันปัญหาที่เกิดขึ้นภายในรัฐบาลด้วย<ref name="Przeworski"/>


ในการเมืองไทย นักวิชาการบางคนเรียก[[ระบอบทักษิณ]]ว่าเป็นทรราชเสียงข้างมาก เนื่องจากเป็นลักษณะการบริหารประเทศที่มีแนวโน้มรวบอำนาจแบบเบ็ดเสร็จ<ref> รศ.ดร.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์, พระผู้ทรงปกเกล้าฯ ประชาธิปไตย : ๖๐ ปีสิริราชสมบัติกับการเมืองการปกครองไทย, กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2549, หน้า 202</ref>
ในการเมืองไทย นักวิชาการบางคนเรียก[[ระบอบทักษิณ]]ว่าเป็นทรราชเสียงข้างมาก เนื่องจากเป็นลักษณะการบริหารประเทศที่มีแนวโน้มรวบอำนาจแบบเบ็ดเสร็จ<ref> รศ.ดร.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์, พระผู้ทรงปกเกล้าฯ ประชาธิปไตย : ๖๐ ปีสิริราชสมบัติกับการเมืองการปกครองไทย, กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2549, หน้า 202</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:56, 28 พฤษภาคม 2557

ระบบเผด็จการโดยเสียงข้างมาก ทรราชเสียงข้างมาก หรือ ทรราชโดยเสียงส่วนใหญ่ (อังกฤษ: Tyranny of the majority) เป็นคำใช้ในการอภิปรายระบบบประชาธิปไตยและการปกครองโดยเสียงข้างมาก โดยบรรยายถึงกรณีที่การตัดสินใจของเสียงข้างมากยึดผลประโยชน์ของตนเหนือผลประโยชน์ของปัจเจกบุคคลหรือกลุ่มเสียงข้างน้อยมากจนกลายเป็นการบีบบังคับ (opression) เปรียบได้กับทรราชหรือระบบใช้อำนาจเด็ดขาด[1]

มีการนำหลักเกินกึ่งหนึ่ง (supermajority) การจำกัดอำนาจของสภานิติบัญญัติ และการริเริ่มบัญญัติว่าด้วยสิทธิพื้นฐานของพลเมืองมาใช้ตอบโต้ปัญหาที่รับรู้ดังกล่าว[2] การแยกใช้อำนาจถูกนำมาใช้เพื่อป้องกันปัญหาที่เกิดขึ้นภายในรัฐบาลด้วย[2]

ในการเมืองไทย นักวิชาการบางคนเรียกระบอบทักษิณว่าเป็นทรราชเสียงข้างมาก เนื่องจากเป็นลักษณะการบริหารประเทศที่มีแนวโน้มรวบอำนาจแบบเบ็ดเสร็จ[3]

อ้างอิง

  1. John Stuart Mill. On Liberty, The Library of Liberal Arts edition, p.7.
  2. 2.0 2.1 A Przeworski, JM Maravall, I NetLibrary Democracy and the Rule of Law (2003) p.223
  3. รศ.ดร.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์, พระผู้ทรงปกเกล้าฯ ประชาธิปไตย : ๖๐ ปีสิริราชสมบัติกับการเมืองการปกครองไทย, กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2549, หน้า 202
  • Lani Guinier, The Tyranny of the Majority (Free Press: 1994)
  • Mancur Olson, The Logic Of Collective Action