ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สิทธิมนุษยชน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 22: บรรทัด 22:
5.มนุษย์[[หมู่โลหิต]] A,B,AB,O มี[[สิทธิ]]และ[[เสรีภาพ]]ในการใช้กฏหมาย หรือ กฏเกณฑ์หลักเหตุผลอย่างเท่าเทียม โดยคำนึงถึงหลักศีลธรรม,จริยธรรม,ศาสนา,ขนบธรรมเนียมประเพณี,จารีตประเพณี,คุณธรรม โดยไม่ละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลผู้อื่นควรจะได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียมเช่นกัน
5.มนุษย์[[หมู่โลหิต]] A,B,AB,O มี[[สิทธิ]]และ[[เสรีภาพ]]ในการใช้กฏหมาย หรือ กฏเกณฑ์หลักเหตุผลอย่างเท่าเทียม โดยคำนึงถึงหลักศีลธรรม,จริยธรรม,ศาสนา,ขนบธรรมเนียมประเพณี,จารีตประเพณี,คุณธรรม โดยไม่ละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลผู้อื่นควรจะได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียมเช่นกัน


,องค์กรหนึ่งองค์กรใด กระทำการริดรอน,คุกคาม,กักขัง,หน่วงเหนี่ยว,ใช้อำนาจบังคับ ละเมิดสิทธิและเสรีภาพของมนุษย์ควรจะได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียม ให้เชื่อว่าเป็นบุคคลหนึ่ง,กลุ่มหนึ่ง,คณะหนึ่ง,องค์กรหนึ่งนั้น เป็น"องค์กรที่ไม่ชอบด้วยกฏหมาย" หรือ "รัฐเผด็จการทางทหาร" อย่างเช่น
== ข้อสังเกต ==

บุคคลผู้ใด,กลุ่มหนึ่งกลุ่มใด,คณะหนึ่งคณะใด,องค์กรหนึ่งองค์กรใด กระทำการริดรอน,คุกคาม,กักขัง,หน่วงเหนี่ยว,ใช้อำนาจบังคับ ละเมิดสิทธิและเสรีภาพของมนุษย์ควรจะได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียม ให้เชื่อว่าเป็นบุคคลหนึ่ง,กลุ่มหนึ่ง,คณะหนึ่ง,องค์กรหนึ่งนั้น เป็น"องค์กรที่ไม่ชอบด้วยกฏหมาย" หรือ "รัฐเผด็จการทางทหาร"


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:45, 26 เมษายน 2557

เสรีภาพ
แนวความคิดสำคัญ

อิสรภาพ (เชิงบวก · เชิงลบ)
สิทธิ และ สิทธิมนุษยชน
เจตจำนงเสรี · ความรับผิดชอบทางศีลธรรม

จำแนกตามประเภท

พลเมือง · วิชาการ
การเมือง · เศรษฐกิจ
ความคิด · ศาสนา

จำแนกตามรูปแบบ

แสดงออก · ชุมนุม
สมาคม · เคลื่อนไหว · สื่อ

ประเด็นทางสังคม

การปิดกั้นเสรีภาพ (ในไทย)
การเซ็นเซอร์ · การบีบบังคับ · ความโปร่งใสของสื่อ

  • สิทธิความเป็นกัมพณ หมายถึงแนวคิดเกี่ยวกับมนุษย์ที่ว่า มนุษย์นั้นมีสิทธิหรือสถานะสากล ซึ่งไม่ขึ้นอยู่กับขอบเขตของกฎหมาย หรือปัจจัยท้องถิ่นอื่นใด เช่น เชื้อชาติ หรือ สัญชาติ
  • สิทธิมนุษยชน หมายถึง สิทธิ ที่มีติดตัวมนุษย์มาตั้งแต่กำเนิด เป็นสิทธิทางกายภาพ ซึ่งไม่สามารถจำหน่าย แจก จ่าย โอน หรือบังคับให้กับผู้หนึ่งผู้ใดได้ สิทธิดังกล่าวนี้มีความเป็นสากลและเป็นนิรันดร์

จาก ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ข้อ 1 กล่าวว่า "มนุษยทั้งหลายทั้งหลายเกิดมามีอิสระเสรี เท่าเทียมกันทั้งศักดิ์ศรีและสิทธิ ทุกคนได้รับการประสิทธิ์ประสาทเหตุผลและมโนธรรม และควรปฏิบัติต่อกันอย่างฉันพี่น้อง"[1]

ความดำรงอยู่ ความถูกต้อง และเนื้อหาของสิทธิมนุษยชน เป็นหัวข้อที่เป็นที่โต้เถียงกันมาอย่างต่อเนื่อง ทั้งในทางปรัชญาและรัฐศาสตร์ ตามกฎหมายแล้ว สิทธิมนุษยชนได้ถูกบัญญัติเอาไว้ในกฎหมายและข้อตกลงระหว่างประเทศ และในกฎหมายภายในของหลายรัฐ อย่างไรก็ตาม สำหรับคนจำนวนมากแล้ว หลักการของสิทธิมนุษยชนนั้นกินขอบเขตเลยไปกว่ากฎหมาย และก่อร่างขึ้นเป็นหลักศีลธรรมพื้นฐานสำหรับวางระเบียบภูมิศาสตร์การเมืองร่วมสมัย สำหรับคนกลุ่มนี้แล้ว สิทธิมนุษยชนคือความเสมอภาคในอุดมคติ


สิทธิและเสรีภาพมนุษยชน

สิทธิและเสรีภาพมนุษยชน มี 5 ประการ

1.มนุษย์หมู่โลหิต A,B,AB,O มีสิทธิและเสรีภาพในการดำรงชีวิต หรือ มีชีวิตอยู่บนโลกนับตั้งแต่วินาทีที่มีลมหายใจเกิดขึ้นจนกระทั่งตาย โดยไม่ละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลผู้อื่นควรจะได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียมเช่นกัน

2.มนุษย์หมู่โลหิต A,B,AB,O มีสิทธิและเสรีภาพในการบำรุงรักษา,ใช้สอยทรัพยากรธรรมชาติทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ หรือ มีอยู่บนโลกมนุษย์อย่างเท่าเทียม โดยไม่ละเมิดสิทธิและเสรีภาพภายในอาณาเขตบริเวณของบุคคลผู้อื่นควรจะได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียมเช่นกัน

3.มนุษย์หมู่โลหิต A,B,AB,O มีสิทธิและเสรีภาพในการผลิต(สร้าง),ใช้สอย,ติดตาม,ขัดขวาง ดอกและผลเป็นธรรมชาติ ซึ่งเกิดจากตนอย่างเท่าเทียม โดยไม่ละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลผู้อื่นควรจะได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียมเช่นกัน

4.มนุษย์หมู่โลหิต A,B,AB,O มีสิทธิและเสรีภาพในการแสดงออกทางกาย(การปฏิบัติ)และทางวาจา(การพูด)ในพื้นที่ของส่วนตนและส่วนรวม(สาธารณะ)อย่างเท่าเทียม โดยไม่ละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลผู้อื่นควรจะได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียมเช่นกัน

5.มนุษย์หมู่โลหิต A,B,AB,O มีสิทธิและเสรีภาพในการใช้กฏหมาย หรือ กฏเกณฑ์หลักเหตุผลอย่างเท่าเทียม โดยคำนึงถึงหลักศีลธรรม,จริยธรรม,ศาสนา,ขนบธรรมเนียมประเพณี,จารีตประเพณี,คุณธรรม โดยไม่ละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลผู้อื่นควรจะได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียมเช่นกัน

ด,องค์กรหนึ่งองค์กรใด กระทำการริดรอน,คุกคาม,กักขัง,หน่วงเหนี่ยว,ใช้อำนาจบังคับ ละเมิดสิทธิและเสรีภาพของมนุษย์ควรจะได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียม ให้เชื่อว่าเป็นบุคคลหนึ่ง,กลุ่มหนึ่ง,คณะหนึ่ง,องค์กรหนึ่งนั้น เป็น"องค์กรที่ไม่ชอบด้วยกฏหมาย" หรือ "รัฐเผด็จการทางทหาร" อย่างเช่น

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น