ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คลองภาษีเจริญ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
</ref> [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้า ฯ ให้ทำพิธีเปิดคลองเมื่อวันที่ [[10 พฤษภาคม]]<ref>[http://www.snr.ac.th/wita/kalamung/index13.html "คลองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ และความเจริญเติบโตของกรุงธนบุรี"] แหล่งเรียนรู้ชุมชนฝั่งธนของเรา ฝ่ายบริหารประชาสัมพันธ์ โรงเรียนศึกษานารี</ref> มีประตูน้ำ 2 แห่ง สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2450 เสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2452 คือ ประตูน้ำภาษีเจริญตอนนอก อยู่ใน[[เขตภาษีเจริญ]] และประตูน้ำภาษีเจริญตอนในอยู่ทางด้าน[[แม่น้ำท่าจีน]]
</ref> [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้า ฯ ให้ทำพิธีเปิดคลองเมื่อวันที่ [[10 พฤษภาคม]]<ref>[http://www.snr.ac.th/wita/kalamung/index13.html "คลองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ และความเจริญเติบโตของกรุงธนบุรี"] แหล่งเรียนรู้ชุมชนฝั่งธนของเรา ฝ่ายบริหารประชาสัมพันธ์ โรงเรียนศึกษานารี</ref> มีประตูน้ำ 2 แห่ง สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2450 เสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2452 คือ ประตูน้ำภาษีเจริญตอนนอก อยู่ใน[[เขตภาษีเจริญ]] และประตูน้ำภาษีเจริญตอนในอยู่ทางด้าน[[แม่น้ำท่าจีน]]
คลองภาษีเจริญ ไหลผ่านอาณาเขต[[เขตภาษีเจริญ]] [[เขตบางแค]] และ[[เขตหนองแขม]] [[กรุงเทพมหานคร]] และ[[อำเภอกระทุ่มแบน]] [[จังหวัดสมุทรสาคร]]
คลองภาษีเจริญ ไหลผ่านอาณาเขต[[เขตภาษีเจริญ]] [[เขตบางแค]] และ[[เขตหนองแขม]] [[กรุงเทพมหานคร]] และ[[อำเภอกระทุ่มแบน]] [[จังหวัดสมุทรสาคร]]

== ทดลองเดินเรือคลองภาษีเจริญ ==
ได้มีเปิดทดลองเดินเรือในคลองภาษีเจริญตลอดเส้นทางเดิน[[เรือโดยสารคลองภาษีเจริญ]] จากท่าเรือ วัดปากน้ำภาษีเจริญถึงท่าเรือเพชรเกษม 69 กำหนดเริ่มทดลองเดินเรือและเปิดให้บริการประชาชนฟรี ตั้งแต่วันที่ 24 เม.ย. – 4 พ.ย. 57<ref>http://news.voicetv.co.th/thailand/103697.html</ref>


== สถานที่สำคัญริมคลองภาษีเจริญ ==
== สถานที่สำคัญริมคลองภาษีเจริญ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:16, 24 เมษายน 2557

ไฟล์:Pasicharoean canal.jpg
คลองภาษีเจริญ

คลองภาษีเจริญ เริ่มต้นที่บริเวณปากคลองบางกอกใหญ่และคลองบางขุนศรีมาบรรจบกัน ไปเชื่อมแม่น้ำท่าจีนที่ตำบลดอนไก่ดี จังหวัดสมุทรสาคร รวมความยาว 28 กิโลเมตร โดยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้พระภาษีสมบัติบริบูรณ์ (ยิ้ม พิศลยบุตร) เจ้าภาษีฝิ่นเป็นแม่กองขุด ใช้เงินภาษีฝิ่นพระราชทานเป็นเงิน 112,000 บาท [1] พระราชทานนามว่า “คลองภาษีเจริญ” แล้วเสร็จในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินเปิดคลองในปี พ.ศ. 2415[2] ได้คลองมีความยาว 620 เส้น กว้าง 7 วา ลึก 5 ศอก [3] ต่อมาในปี พ.ศ. 2428 - 2429 และ 2446 ได้มีการขุดลอกอีกครั้ง[4] พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้า ฯ ให้ทำพิธีเปิดคลองเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม[5] มีประตูน้ำ 2 แห่ง สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2450 เสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2452 คือ ประตูน้ำภาษีเจริญตอนนอก อยู่ในเขตภาษีเจริญ และประตูน้ำภาษีเจริญตอนในอยู่ทางด้านแม่น้ำท่าจีน คลองภาษีเจริญ ไหลผ่านอาณาเขตเขตภาษีเจริญ เขตบางแค และเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร และอำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร

ทดลองเดินเรือคลองภาษีเจริญ

ได้มีเปิดทดลองเดินเรือในคลองภาษีเจริญตลอดเส้นทางเดินเรือโดยสารคลองภาษีเจริญ จากท่าเรือ วัดปากน้ำภาษีเจริญถึงท่าเรือเพชรเกษม 69 กำหนดเริ่มทดลองเดินเรือและเปิดให้บริการประชาชนฟรี ตั้งแต่วันที่ 24 เม.ย. – 4 พ.ย. 57[6]

สถานที่สำคัญริมคลองภาษีเจริญ

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. "ความรู้เรื่องคลองฉบับน้ำท่วมกรุงเทพฯ" ลงพิมพ์ในนสพ.คม ชัด ลึก วันจันทร์ที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2554
  2. "คลองภาษีเจริญ"โดยเรไร ไพรวรรณ์
  3. "ประวัติสำนักงานเขตภาษีเจริญ" เขตภาษีเจริญ
  4. "พัฒนาคลองภาษีเจริญทำแหล่งท่องเที่ยวทางน้ำ " โดย วัลย์รวี กองการขนส่ง สำนักการจราจรและขนส่ง (สจส.)
  5. "คลองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ และความเจริญเติบโตของกรุงธนบุรี" แหล่งเรียนรู้ชุมชนฝั่งธนของเรา ฝ่ายบริหารประชาสัมพันธ์ โรงเรียนศึกษานารี
  6. http://news.voicetv.co.th/thailand/103697.html

แหล่งข้อมูลอื่น

พิกัดภูมิศาสตร์: 13°38′00″N 100°14′00″E / 13.633333°N 100.233333°E / 13.633333; 100.233333