ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้ามหานามะ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Nack bossa (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
|พิธีบรมราชาภิเษก = 40 ปีก่อน [[พุทธศักราช|พุทธศก]]
|พิธีบรมราชาภิเษก = 40 ปีก่อน [[พุทธศักราช|พุทธศก]]
|ระยะเวลาครองราชย์ =
|ระยะเวลาครองราชย์ =
|รัชกาลก่อนหน้า = [[พระเจ้าสุทโธทนะ]]
|รัชกาลก่อนหน้า = พระเจ้าภัททิยะศากยราชา
|รัชกาลถัดมา = ไม่ระบุ
|รัชกาลถัดมา = ไม่ระบุ


บรรทัด 24: บรรทัด 24:


== ครองกรุงกบิลพัสดุ์ ==
== ครองกรุงกบิลพัสดุ์ ==
เมื่อพระโพธิสัตว์โคดมได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้ว จึงเสด็จมาโปรดพระประยูรญาติ ในวันที่พระพุทธเจ้าใกล้เสด็จมาถึง เจ้าชายมหานามะเมื่อรู้ว่าพระพุทธเจ้าจะเสด็จมาก็ตั้งใจรอด้วยจิตที่ศรัทธาเลื่อมใสยิ่งและได้ออกจากพระราชวังไปต้อนรับพระพุทธเจ้าด้วยพระองค์เองเพียงลำพังในเย็นวันนั้นเอง และได้จัดหาที่พักถวายพระพุทธเจ้าตามพระราชประสงค์ หลังจากนั้นเป็นต้นมาพระพุทธองค์ก็ได้แสดงธรรมโปรดเจ้าชายมหานามะอยู่เรื่อยๆในพระนครกบิลพัสดุ์นั่นเอง
เมื่อพระโพธิสัตว์เจ้าชายสิทธัตถะ ได้ตรัสรู้เป็น[[พระโคตมพุทธเจ้า|พระสัมมาสัมพุทธเจ้า]]แล้ว จึงเสด็จมาโปรด ประทานสงเคราะห์พระประยูรญาติ ให้ดำรงอยู่ในสุขสมบัติ ทั้งที่เป็นของมนุษย์ ทั้งที่เป็นของทิพย์ และสุขเกษมศานต์อันเป็นบรมสุข คือ[[นิพพาน]] ตามอำนาจวาสนา[[บารมี]] ของแต่ละพระองค์ เจ้าชายมหานามะก็ได้บรรลุเป็นพระโสดาบัน ด้วยการเข้าเฝ้าพระพุทธองค์ในครั้งแรกเท่านั้น นอกจากนี้ยังมีศากยกุมาร อีกเป็นจำนวนมาก ออกบรรพชาติดตามแวดล้อม พระบรมศาสดา แม้แต่พระอนุชาของพระเจ้ามหานามะ คือ เจ้าชายอนุรุทธะ ก็เสด็จออกบวชด้วยเช่นกัน


เมื่อพระเจ้าสุทโธทนะพุทธบิดา ได้บรรลุพระอรหัตผล และดับขันธ[[ปรินิพพาน]]แล้ว ราชสมบัติก็ขาดรัชทายาทสืบสันติวงศ์ หมู่อำมาตย์ราชปุโรหิตทั้งหลาย จึงได้ตกลงอัญเชิญเจ้าชายมหานามะ ผู้เป็นพระภาติยะของ[[พระเจ้าสุทโธทนะ]]<ref>[http://th.wiktionary.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B8%B0 พระภาติยะ] จาก [[wikt:|วิกิพจนานุกรม]]</ref> เข้าทำพิธีราชาภิเษกขึ้น ครอบครองราชย์สมบัติเป็น'''[[พระเจ้าจักรพรรดิ]]มหานามศากยราชา''' แห่ง[[กบิลพัสดุ์|กรุงกบิลพัสดุ์]]สืบต่อไป
ครั้นเมื่อพระเจ้าสุทโธทนะพุทธบิดาได้บรรลุพระอรหัตผลและดับขันธปรินิพพานแล้ว เจ้าชายภัททิยะก็ได้ขึ้นครองราชย์สืบต่อมาแต่เจ้าชายอนุรุทธซึ่งเป็นพระสหายได้ชวนพระองค์ออกผนวชทำให้ราชสมบัติขาดผู้สืบทอด บรรดาพราหมณ์ปุโรหิตทั้งหลาย จึงอัญเชิญเจ้าชายมหานามเสด็จขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้ามหานามศากยราชาสืบต่อมา ทุกครั้งที่พระองค์ปรารถนาจะฟังธรรม พระองค์จะไปเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า ณ นิโครธาราม เมื่อครั้งเสด็จกลับจะทรงพระดำเนินกลับเพียงลำพัง ชาวบ้านที่พบพระองค์ในระหว่างทางก็มีความปราบปลื้มโสมนัสใจเป็นอย่างยิ่ง


== ถวายทานมีรสประณีต ==
== ถวายทานมีรสประณีต ==
บรรทัด 40: บรรทัด 40:


== บั้นปลายชีวิต ==
== บั้นปลายชีวิต ==
ตลอดชีวิตที่ทรงครองราชย์สมบัติ พระองค์ทรงห่วงใยและดูแลพสกนิกรให้มีความผาสุขกันถ้วนหน้าและยังทรงมีความศรัทธาในพระพุทธศาสนาเป็นอย่างยิ่ง ทำให้พระพุทธศาสนาในกรุงกบิลพัสดุ์มีความเจริญรุ่งเรืองอย่างมาก พระองค์ดำรงขันธ์อยู่พอสมควรจึงเสด็จสวรรคต ท่ามกลางความเศร้าโศกของพสกนิกรชาวกบิลพัสดุ์ เพราะพระองค์เป็นโสดาบันประเภทสัตตักขัตตุปรมัง จึงไปบังเกิดอีกเจ็ดครั้งเป็นเทวดาบ้างมนุษย์บ้าง แล้วจึงเสด็จดับขันธปรินิพพาน
เวลาต่อมา เมื่อเจ้าชาย[[พระเจ้าวิฑูฑภะ|วิฑูฑภะ]]ผู้เป็นพระนัดดาที่เกิดจากธิดาของพระองค์ที่เกิดจากนางทาสีชื่อว่า พระนางวาสภขัตติยา กับ[[พระเจ้าปเสนทิโกศล]] พระราชาแห่งแคว้นโกศลได้แย่งชิงราชสมบัติจากพระราชบิดาและปราบดาภิเษกเป็นพระเจ้าวิฑูฑภะ จากนั้นพระเจ้าวิฑูฑภะทรงระลึกถึงการดูหมิ่นพระองค์ของพวกศากยวงศ์ว่า เป็นหลานจัณฑาล ทำให้ทรงกริ้วจึงยกทัพไปบุกตีกรุงกบิลพัสดุ์เพื่อกวาดล้างศากยวงศ์ให้สิ้น แม้[[พระพุทธองค์|พระพุทธเจ้า]]ซึ่งเป็นถึงเชื้อศากยวงศ์ต้องการปกป้องศากยวงศ์จึงเข้าไปห้ามทัพของพระเจ้าวิฑูฑภะถึง 3 ครั้ง แต่พระเจ้าวิฑูฑภะก็ยังทรงระลึกและกริ้วพวกศากยวงศ์อีกจึงทรงยกทัพเป็นครั้งที่ 4 พระพุทธองค์ทรงระลึกถึงกรรมชั่วของพวกศากยวงศ์คือปล่อยยาพิษลงในแม่น้ำทำให้สัตว์น้ำตาย ทำให้พระพุทธองค์ทรงตัดสินใจไม่ไปห้ามทัพ เมื่อไม่มีพระพุทธองค์มาห้ามทัพแล้ว พระเจ้าวิฑูฑภะกับกองทัพก็ได้บุกตีกรุงกบิลพัสดุ์และกวาดล้างศากยวงศ์จนสิ้น พระเจ้าวิฑูฑภะทรงมีรับสั่งให้จับพระเจ้ามหานามะผู้เป็นพระอัยกาและยกทัพกลับไปยัง[[กรุงสาวัตถี]] พอตกค่ำก็แวะพักระหว่างทาง เมื่อถึงรุ่งเช้า พระเจ้าวิฑูฑภะทรงมีรับสั่งให้พระเจ้ามหานามะมาเสวยพระกายาหารเช้าร่วมกัน แต่ด้วยมานะแห่งกษัตริย์ พระเจ้ามหานามะทรงไม่ยอมเสวยพระกายาหารเช้าร่วมกับหลานจัณฑาลแต่พระองค์ทรงเห็นว่าหากพระองค์ไม่ยอมเสวยก็จะทำให้พระเจ้าวิฑูฑภะทรงกริ้วและรับสั่งให้ประหารพระองค์เป็นแน่ แต่พระองค์ทรงทอดพระเนตรสระแห่งหนึ่ง ทำให้พระองค์ทรงตัดสินพระทัยฆ่าตัวตายแทนถูกประหาร จึงตรัสกับพระเจ้าวิฑูฑภะว่าจะไปสรงน้ำแล้วจะมาเสวยพระกายาหารเช้าร่วมกัน ทำให้พระเจ้าวิฑูฑภะพระราชานุญาตให้ไปสรงน้ำ เมื่อพระเจ้ามหานามะได้ไปถึงสระทรงสยายพระเกศาและขอดให้เป็นปมที่ปลายผมนั้น สอดหัวแม่เท้าเข้าไปในผมและดำลงไปในน้ำทำให้พระองค์ทรงสวรรคต แต่ในตำราพระพุทธศาสนาบอกว่า เมื่อพระเจ้ามหานามะได้ดำลงไปด้วยเดชะบุญ ทำให้นาคพิภพเกิดความร้อน พญานาคราชได้ใคร่ครวญดูว่เกิดเรื่องอะไรกันขึ้นกันแน่ เมื่อทราบเรื่องแล้วจึงมาสู่ปรากฏตัว ณ ที่พระเจ้ามหานามะนั้นลงสรงอยู่ พญานาคได้อัญเชิญพระเจ้ามหานามะไปประทับนาคพิภพเป็นเวลา 12 ปีจนพระองต์สวรรคตตามอัตภาพ


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:50, 15 เมษายน 2557

พระเจ้ามหานามะ

เจ้าชายมหานามะ
พระเจ้ามหานามะศากยราชา
พระมหากษัตริย์แห่งศากยราชวงศ์
ราชาภิเษก40 ปีก่อน พุทธศก
รัชกาลก่อนหน้าพระเจ้าภัททิยะศากยราชา
รัชกาลถัดไปไม่ระบุ
พระราชบุตรวาสภขัตติยา
พระเจ้ามหานามะศากยราชา
ราชวงศ์ราชวงศ์ศากยะ
พระราชบิดาพระเจ้าอมิโตทนะ หรือ พระเจ้าสุกโกทนะ

พระเจ้ามหานามศากยราชา เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าอมิโตทนะหรือ พระเจ้าสุกโกทนะ ซึ่งเป็นพระอนุชาของพระเจ้าสุทโธทนะ พุทธบิดา มีพระอนุชา 1 พระองค์ คือ เจ้าชายอนุรุทธะ และมีพระกนิษฐภคินี หนึ่งพระองค์ คือ พระนางโรหิณี ตามชื่อแม่น้ำโรหิณี ทรงมีพระชายาเป็นนางทาสีชื่อ นาคมณฑาล และมีพระธิดาที่เป็นจัณฑาลมีนามว่า พระนางวาสภขัตติยา

ครองกรุงกบิลพัสดุ์

เมื่อพระโพธิสัตว์โคดมได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้ว จึงเสด็จมาโปรดพระประยูรญาติ ในวันที่พระพุทธเจ้าใกล้เสด็จมาถึง เจ้าชายมหานามะเมื่อรู้ว่าพระพุทธเจ้าจะเสด็จมาก็ตั้งใจรอด้วยจิตที่ศรัทธาเลื่อมใสยิ่งและได้ออกจากพระราชวังไปต้อนรับพระพุทธเจ้าด้วยพระองค์เองเพียงลำพังในเย็นวันนั้นเอง และได้จัดหาที่พักถวายพระพุทธเจ้าตามพระราชประสงค์ หลังจากนั้นเป็นต้นมาพระพุทธองค์ก็ได้แสดงธรรมโปรดเจ้าชายมหานามะอยู่เรื่อยๆในพระนครกบิลพัสดุ์นั่นเอง

ครั้นเมื่อพระเจ้าสุทโธทนะพุทธบิดาได้บรรลุพระอรหัตผลและดับขันธปรินิพพานแล้ว เจ้าชายภัททิยะก็ได้ขึ้นครองราชย์สืบต่อมาแต่เจ้าชายอนุรุทธซึ่งเป็นพระสหายได้ชวนพระองค์ออกผนวชทำให้ราชสมบัติขาดผู้สืบทอด บรรดาพราหมณ์ปุโรหิตทั้งหลาย จึงอัญเชิญเจ้าชายมหานามเสด็จขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้ามหานามศากยราชาสืบต่อมา ทุกครั้งที่พระองค์ปรารถนาจะฟังธรรม พระองค์จะไปเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า ณ นิโครธาราม เมื่อครั้งเสด็จกลับจะทรงพระดำเนินกลับเพียงลำพัง ชาวบ้านที่พบพระองค์ในระหว่างทางก็มีความปราบปลื้มโสมนัสใจเป็นอย่างยิ่ง

ถวายทานมีรสประณีต

ต่อมาสมัยหนึ่ง พระบรมศาสดาเสด็จจำพรรษา ณ เมืองเวรัญชา พร้อมด้วยหมู่พระภิกษุสงฆ์ ตามคำอาราธนาของเวรัญชพราหมณ์ ภิกษุสงฆ์ได้รับความลำบาก ด้วยการเที่ยวภิกขาจาร เพราะขาดทายกและทายิกาที่จะถวายอาหารบิณฑบาตตลอดทั้งพรรษา

ครั้นออกพรรษาแล้ว พระพุทธองค์ทรงพาภิกษุสงฆ์ เสด็จไปยังกรุงกบิลพัสดุ์ เสด็จเข้า ประทับ ณ นิโครธาราม พระเจ้ามหานามศากยราชา ทรงทราบจึงเสด็จไปเฝ้า กราบถวายบังคมแล้ว ประทับนั่ง ณ ที่อันสมควร กราบว่าพระพุทธองค์ และภิกษุสงฆ์ได้รับความลำบากด้วย ภิกขาจารในพรรษาที่ผ่านมา จึงกราบทูลขอพระวโรกาส ถวายภัตตาหารอันมีรสประณีตแด่พระพุทธองค์ พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์เป็นระยะเวลา 4 เดือน

ครั้นทราบว่า พระพุทธองค์ทรงรับโดยดุษณีภาพแล้ว ตั้งแต่วันรุ่งขึ้น ก็ได้บำรุงภิกษุสงฆ์ โดยมีพระพุทธองค์เป็นประมุข ด้วยโภชนาหารอันประณีต และของมีรสอร่อย 4 ชนิด ทุก ๆ วัน ครั้นครบกำหนด 4 เดือนแล้ว ได้กราบทูลขอรับปฏิญญาต่อไปอีก 4 เดือน รวมเป็น 8 เดือน และก็ขอรับปฏิญญาต่ออีก 4 เดือน รวมทั้งสิ้นเป็น 1 ปี

เมื่อครบกำหนดวาระ 1 ปีแล้ว พระพุทธองค์ไม่ทรงรับอาราธนาเกินไปกว่านั้น ส่วนพระเจ้ามหานามศากยราชา ก็ทรงปลาบปลื้มปีติยินดี กับสักการทานที่พระองค์บำเพ็ญถวาย ตลอดระยะเวลา 1 ปีนั้น เกียรติคุณของพระเจ้ามหานาม ก็ฟุ้งขจรไปทั่วทั้งชมพูทวีป

ต่อมา พระพุทธองค์ประทับ ณ วัดพระเชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐี ได้สถาปนาพระเจ้ามหานามศากยราชา ในตำแหน่งเอตทัคคะเป็นผู้เลิศกว่าอุบาสกทั้งหลาย[1] ในฝ่ายผู้ถวายอาหารมีรสอันประณีต

บั้นปลายชีวิต

ตลอดชีวิตที่ทรงครองราชย์สมบัติ พระองค์ทรงห่วงใยและดูแลพสกนิกรให้มีความผาสุขกันถ้วนหน้าและยังทรงมีความศรัทธาในพระพุทธศาสนาเป็นอย่างยิ่ง ทำให้พระพุทธศาสนาในกรุงกบิลพัสดุ์มีความเจริญรุ่งเรืองอย่างมาก พระองค์ดำรงขันธ์อยู่พอสมควรจึงเสด็จสวรรคต ท่ามกลางความเศร้าโศกของพสกนิกรชาวกบิลพัสดุ์ เพราะพระองค์เป็นโสดาบันประเภทสัตตักขัตตุปรมัง จึงไปบังเกิดอีกเจ็ดครั้งเป็นเทวดาบ้างมนุษย์บ้าง แล้วจึงเสด็จดับขันธปรินิพพาน

อ้างอิง