ผลต่างระหว่างรุ่นของ "งูหลาม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Keepers~thwiki (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7: บรรทัด 7:
| image = Everglades2 013.jpg
| image = Everglades2 013.jpg
| image_width = 250px | image2_width = 250px
| image_width = 250px | image2_width = 250px
| image_caption = งูหลาม[[ชนิดย่อย]] ''P. m. bivittatus'' หรือ งูหลามพม่า
| image_caption = ''Python bivittatus'' หรือ งูหลามพม่า
| image2 = Indian rock python (Python molurus) at mysore zoo.jpg
| image2_caption = งูหลามชนิดย่อย ''P. m. molurus'' หรือ งูหลามอินเดีย
| regnum = [[Animal]]ia
| regnum = [[Animal]]ia
| phylum = [[Chordate|Chordata]]
| phylum = [[Chordate|Chordata]]
บรรทัด 17: บรรทัด 15:
| familia = [[Pythonidae]]
| familia = [[Pythonidae]]
| genus = ''[[สกุลงูเหลือม|Python]]''
| genus = ''[[สกุลงูเหลือม|Python]]''
| species = '''''P. molurus'''''
| species = '''''P. bivittatus'''''
| binomial = ''Python molurus''
| binomial = ''Python bivittatus''
| binomial_authority = ([[John Edward Gray|Gray]], [[ค.ศ. 1825|1825]])
| binomial_authority = ([[Kuhl]], [[1820]])
| synonyms = ''Python molurus bivittatus'' [[Heinrich Kuhl|Kuhl]], 1820<ref>{{NRDB species|genus=Python |species=bivittatus }}</ref>
| subdivision = <center>2 ชนิด ดูในเนื้อหา</center>
| subdivision_ranks = [[subspecies|ชนิดย่อย]]
| synonyms = {{hidden begin|title=ชนิดย่อย}}
*''Coluber boaeformis'' <small>Shaw, 1802</small>
*''Coluber molurus'' <small>Linnaeus, 1758</small>
*''Python albicans'' <small>Schneider, 1801</small>
*''Python bora'' <small>Daudin, 1803</small>
*''Python castanea'' <small>Schneider, 1801</small>
*''Python cinerea'' <small>Schneider, 1801</small>
*''Python molurus'' <small>Werner, 1899 ชนิดย่อย ''ocellata''</small>
*''Python orbiculata'' <small>Schneider, 1801</small>
*''Python tigris'' <small>Daudin, 1803</small>
{{hidden end}}
| synonyms_ref =<ref name="iucn"/>
}}
}}
{{hidden end}}
'''งูหลาม''' ({{lang-en|Indian python, Asiatic rock python, Burmese python}}, {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Python molurus}}) เป็น[[งู]]ขนาดใหญ่ ไม่มีพิษ

'''งูหลาม''' ({{lang-en|Burmese python}}, {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Python bivittatus}}) เป็น[[งู]]ขนาดใหญ่ ไม่มีพิษ


==ลักษณะและความยาว==
==ลักษณะและความยาว==
มีลักษณะคล้ายกับ[[งูเหลือม]] (''P. reticulatus'') ซึ่งเป็นงูใน[[สกุล (ชีววิทยา)|สกุล]]เดียวกัน แต่มีขนาดเล็กกว่างูเหลือม โดยความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 1-3 [[เมตร]] (พบใหญ่ที่สุด 5.18 เมตร [[น้ำหนัก]] 74 [[กิโลกรัม]] ที่[[Everglades National Park|อุทยานแห่งชาติเอเวอร์เกลดส์]] [[สหรัฐอเมริกา]]<ref>[http://www.manager.co.th/Around/ViewNews.aspx?NewsID=9550000099982 ฮือฮา! พบงูหลามยักษ์ยาวเกือบ 5.2 เมตรที่ฟลอริดา ชี้ตัวใหญ่สุดในประวัติศาสตร์ จาก[[ผู้จัดการออนไลน์]]]</ref> ทำลายสถิติตัวที่มีความยาว 5 [[เมตร]] ใน[[ประเทศพม่า]])<ref>[http://www.thaisarn.com/th/news_reader.php?newsid=676452 จับงูหลามยักษ์ยาวกว่า 5 เมตรในพม่า มอบสวนสัตว์ย่างกุ้ง จากผู้จัดการออนไลน์]</ref> มีลำตัวที่อ้วนป้อมกว่า อีกทั้งหางก็สั้นกว่า และมีขีดที่บนหัวเป็น[[สีขาว]] เรียกว่า "ศรขาว" อีกทั้งมีสีสันและลวดลายที่แตกต่างจากงูเหลือม รวมทั้งอุปนิสัยที่ไม่ดุต่างจากงูเหลือม จึงเป็นที่นิยมเลี้ยงเป็น[[สัตว์เลี้ยง]]ของผู้ที่นิยมเลี้ยง[[สัตว์เลื้อยคลาน]]มากกว่า นิยมกันมากในตัวที่สีกลายเป็น[[ภาวะผิวเผือก|สีเผือก]]และลวดลายแตกต่างไปจากปกติ ซึ่ง[[สวนสัตว์นครราชสีมา]]นับเป็นสถานที่แห่งแรกของโลก ที่สามารถเพาะพันธุ์งูหลามเผือกได้สำเร็จ เมื่อเดือน[[เมษายน]] [[พ.ศ. 2553]]<ref>[http://www.ryt9.com/s/tpd/937852 เพาะสำเร็จแล้วงูหลามทองแท้]</ref>
มีลักษณะคล้ายกับ[[งูเหลือม]] (''Python reticulatus'') ซึ่งเป็นงูใน[[สกุล (ชีววิทยา)|สกุล]]เดียวกัน แต่มีขนาดเล็กกว่างูเหลือม โดยความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 1-3 [[เมตร]] (พบใหญ่ที่สุด 5.18 เมตร [[น้ำหนัก]] 74 [[กิโลกรัม]] ที่[[Everglades National Park|อุทยานแห่งชาติเอเวอร์เกลดส์]] [[สหรัฐอเมริกา]]<ref>[http://www.manager.co.th/Around/ViewNews.aspx?NewsID=9550000099982 ฮือฮา! พบงูหลามยักษ์ยาวเกือบ 5.2 เมตรที่ฟลอริดา ชี้ตัวใหญ่สุดในประวัติศาสตร์ จาก[[ผู้จัดการออนไลน์]]]</ref> ทำลายสถิติตัวที่มีความยาว 5 [[เมตร]] ใน[[ประเทศพม่า]])<ref>[http://www.thaisarn.com/th/news_reader.php?newsid=676452 จับงูหลามยักษ์ยาวกว่า 5 เมตรในพม่า มอบสวนสัตว์ย่างกุ้ง จากผู้จัดการออนไลน์]</ref> มีลำตัวที่อ้วนป้อมกว่า อีกทั้งหางก็สั้นกว่า และมีขีดที่บนหัวเป็น[[สีขาว]] เรียกว่า "ศรขาว" อีกทั้งมีสีสันและลวดลายที่แตกต่างจากงูเหลือม รวมทั้งอุปนิสัยที่ไม่ดุต่างจากงูเหลือม จึงเป็นที่นิยมเลี้ยงเป็น[[สัตว์เลี้ยง]]ของผู้ที่นิยมเลี้ยง[[สัตว์เลื้อยคลาน]]มากกว่า นิยมกันมากในตัวที่สีกลายเป็น[[ภาวะผิวเผือก|สีเผือก]]และลวดลายแตกต่างไปจากปกติ ซึ่ง[[สวนสัตว์นครราชสีมา]]นับเป็นสถานที่แห่งแรกของโลก ที่สามารถเพาะพันธุ์งูหลามเผือกได้สำเร็จ เมื่อเดือน[[เมษายน]] [[พ.ศ. 2553]]<ref>[http://www.ryt9.com/s/tpd/937852 เพาะสำเร็จแล้วงูหลามทองแท้]</ref>


พบกระจายพันธุ์ใน[[อนุทวีปอินเดีย]]จนถึงตอนเหนือของพม่า สำหรับใน[[ประเทศไทย]]พบได้ทุกภาคของประเทศ ยกเว้น [[ภาคใต้]] ออกไข่ครั้งละประมาณ 40 ฟอง ระยะฟักเป็นตัวประมาณ 2 เดือน มีอายุยืนประมาณ 15 ปี มีพฤติกรรมการหากินคล้ายคลึงกับงูเหลือม แต่มักจะหากินบนพื้นดิน ไม่ชอบขึ้น[[ต้นไม้]]หรือลง[[น้ำ]]เหมือนงูเหลือม<ref>[http://www.moohin.com/animals/reptiles-12.shtml งูหลาม]</ref>
พบกระจายพันธุ์ใน[[อนุทวีปอินเดีย]]จนถึงตอนเหนือของพม่า สำหรับใน[[ประเทศไทย]]พบได้ทุกภาคของประเทศ ยกเว้น [[ภาคใต้]] ออกไข่ครั้งละประมาณ 40 ฟอง ระยะฟักเป็นตัวประมาณ 2 เดือน มีอายุยืนประมาณ 15 ปี มีพฤติกรรมการหากินคล้ายคลึงกับงูเหลือม แต่มักจะหากินบนพื้นดิน ไม่ชอบขึ้น[[ต้นไม้]]หรือลง[[น้ำ]]เหมือนงูเหลือม<ref>[http://www.moohin.com/animals/reptiles-12.shtml งูหลาม]</ref>


เคยถูกจัดให้เป็นชนิดย่อยของ ''Python molurus'' จากการศึกษาโดยละเอียดแล้ว ด้วยความแตกต่างในหลายๆส่วน ชนิดย่อย ''Python molurus bivittatus'' จึงถูกยกให้เป็นชนิด ''Python bivittatus''
มีอยู่ด้วยกัน 2 [[ชนิดย่อย]] คือ<ref name="itis">[http://www.itis.gov/servlet/SingleRpt/SingleRpt?search_topic=TSN&search_value=202187 การอนุกรมวิธานงูหลาม]</ref>

=== ชนิดย่อย ===


{| border="1" cellpadding="4" cellspacing="1" style="margin: 1em 1em 1em 0; background: #f9f9f9; border: 1px #aaa solid; text-align:center; border-collapse: collapse; font-size: 95%;"
|- style="background:#cccccc"
!ชื่อวิทยาศาสตร์!!สถานที่พบ!!ผู้[[อนุกรมวิธาน]]
|-style="background:lightblue;"
|''P. m. bivittatus''||ภูมิภาค[[อินโดจีน]], [[มาเลเซีย]], [[คาบสมุทรมลายู]], ตอนใต้ของ[[จีน]], [[เกาะชวา]], [[เกาะสุลาเวสี]], [[เกาะไหหลำ]]||Kuhl, [[ค.ศ. 1820|1820]]
|-
|''P. m. molurus''|| ภูมิภาค[[เอเชียใต้]] || ([[ลินเนียส|Linnaeus]], [[ค.ศ. 1758|1758]])
|}<ref name="itis"/>


สำหรับในประเทศไทย ''Python bivittatus'' จัดเป็น[[สัตว์ป่าคุ้มครอง]]ตาม[[พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าพุทธศักราช 2535]]
== ในประเทศไทย ==
สำหรับในประเทศไทย เป็นชนิด ''P. m. bivittatus'' และจัดเป็น[[สัตว์ป่าคุ้มครอง]]ตาม[[พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าพุทธศักราช 2535]]


==การเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นในสหรัฐอเมริกา==
==การเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นในสหรัฐอเมริกา==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:55, 5 เมษายน 2557

งูหลาม
Python bivittatus หรือ งูหลามพม่า
สถานะการอนุรักษ์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Reptilia
อันดับ: Squamata
อันดับย่อย: Serpentes
วงศ์: Pythonidae
สกุล: Python
สปีชีส์: P.  bivittatus
ชื่อทวินาม
Python bivittatus
(Kuhl, 1820)
ชื่อพ้อง

Python molurus bivittatus Kuhl, 1820[2]

งูหลาม (อังกฤษ: Burmese python, ชื่อวิทยาศาสตร์: Python bivittatus) เป็นงูขนาดใหญ่ ไม่มีพิษ

ลักษณะและความยาว

มีลักษณะคล้ายกับงูเหลือม (Python reticulatus) ซึ่งเป็นงูในสกุลเดียวกัน แต่มีขนาดเล็กกว่างูเหลือม โดยความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 1-3 เมตร (พบใหญ่ที่สุด 5.18 เมตร น้ำหนัก 74 กิโลกรัม ที่อุทยานแห่งชาติเอเวอร์เกลดส์ สหรัฐอเมริกา[3] ทำลายสถิติตัวที่มีความยาว 5 เมตร ในประเทศพม่า)[4] มีลำตัวที่อ้วนป้อมกว่า อีกทั้งหางก็สั้นกว่า และมีขีดที่บนหัวเป็นสีขาว เรียกว่า "ศรขาว" อีกทั้งมีสีสันและลวดลายที่แตกต่างจากงูเหลือม รวมทั้งอุปนิสัยที่ไม่ดุต่างจากงูเหลือม จึงเป็นที่นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงของผู้ที่นิยมเลี้ยงสัตว์เลื้อยคลานมากกว่า นิยมกันมากในตัวที่สีกลายเป็นสีเผือกและลวดลายแตกต่างไปจากปกติ ซึ่งสวนสัตว์นครราชสีมานับเป็นสถานที่แห่งแรกของโลก ที่สามารถเพาะพันธุ์งูหลามเผือกได้สำเร็จ เมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2553[5]

พบกระจายพันธุ์ในอนุทวีปอินเดียจนถึงตอนเหนือของพม่า สำหรับในประเทศไทยพบได้ทุกภาคของประเทศ ยกเว้น ภาคใต้ ออกไข่ครั้งละประมาณ 40 ฟอง ระยะฟักเป็นตัวประมาณ 2 เดือน มีอายุยืนประมาณ 15 ปี มีพฤติกรรมการหากินคล้ายคลึงกับงูเหลือม แต่มักจะหากินบนพื้นดิน ไม่ชอบขึ้นต้นไม้หรือลงน้ำเหมือนงูเหลือม[6]

เคยถูกจัดให้เป็นชนิดย่อยของ Python molurus จากการศึกษาโดยละเอียดแล้ว ด้วยความแตกต่างในหลายๆส่วน ชนิดย่อย Python molurus bivittatus จึงถูกยกให้เป็นชนิด Python bivittatus


สำหรับในประเทศไทย Python bivittatus จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าพุทธศักราช 2535

การเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นในสหรัฐอเมริกา

ปัจจุบันงูหลามได้กลายเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นไปแล้วในหลายพื้นที่ของสหรัฐอเมริกา ด้วยการมีนำเข้าไปในฐานะสัตว์เลี้ยง ซึ่งได้มีหลายส่วนถูกปล่อยหรือหลุดออกจากที่เลี้ยงได้ มีรายงานว่าได้กินแอลลิเกเตอร์ไปทั้งตัวจนท้องแตกตาย ในอุทยานแห่งชาติเอเวอร์เกลดส์ ในพื้นที่ชุ่มน้ำของรัฐฟลอริดา [7]

อ้างอิง

แม่แบบ:Link FA