ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิพีเดีย:แนวทางการเขียนบทความให้ดียิ่งขึ้น"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ 1.47.163.161 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Nullzero
บรรทัด 10: บรรทัด 10:
* รูปแบบการเขียนในบทความเป็นไปในทิศทางเดียวกัน
* รูปแบบการเขียนในบทความเป็นไปในทิศทางเดียวกัน


== การเริ่มต้น ==
{{เก็บกวาด}}
สำหรับการเริ่มต้นบทความในย่อหน้าแรก อย่างน้อยควร'''อธิบายความหมายและความสำคัญ'''ของหัวเรื่องนั้น (เช่นเป็นอะไร คือใคร สำคัญอย่างไร) และเป็นการสรุปเนื้อหาอย่างย่อในหัวข้อที่จะเขียนต่อไป เน้นตัวหนาคำหลักที่ตรงกับหัวเรื่องเพียงครั้งแรก สำหรับชื่ออื่นที่เปลี่ยนทางมาอาจทำตัวหนาหรือไม่ก็ได้ตามความเหมาะสม
เรียกเขาว่าอีกา Crows ( クローズ ) เป็นผลงานของ Hiroshi Takahashi ถูกสร้างเป็น ภาพยนตร์ 2 ภาค Crows ZERO I , II และยังสร้างเป็น Anime ชื่อว่า Crows ONE


;ตัวอย่าง การเริ่มต้นบทความที่ไม่ดี
'''Crows ZERO'''
* '''ประเทศไทย''' เป็น[[ประเทศ]]
* '''ไมเคิล ชารา''' เป็นนักเขียน[[นิยายวิทยาศาสตร์]]


;ตัวอย่าง การเริ่มต้นบทความที่ดี
เป็นเนื้อเรื่อง ก่อนที่ โบยะ ฮารุมิจิ จะเข้าโรงเรียน ซูซูรัน 1 ปี ซึ่งเนื้อเรื่องมีอยู่ว่า เก็นจิ ทาเคยะ ต้องการเป็นหัวหน้า ยากูซ่า หรือสานต่องานของพ่อให้สำเร็จ
* '''ประเทศไทย''' เป็น[[ประเทศ]]ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนทางทิศตะวันออกติดลาว และกัมพูชา ทิศใต้ติดอ่าวไทย และมาเลเซีย ทางทิศตะวันตกติดทะเลอันดามัน และพม่า และทางทิศเหนือติดพม่า และลาวโดยมีแม่น้ำโขงกั้นเป็นบางช่วง
โดยได้ให้ สัญญากับ ริวเซไก พ่อของตัวเองไว้ ถ้าเกิดเค้าสามารถ รวม ซูซูรัน ได้เป็น หนึ่งเดียวกัน ก็จะให้ตำแหน่ง แก่เขา
* '''ไมเคิล ชารา''' เป็นนักเขียน[[นิยายวิทยาศาสตร์]] นิยายกีฬา และนิยายประวัติศาสตร์ ชาราเริ่มขายนิยายวิทยาศาสตร์ในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1950 โดยหลังจากนั้นได้เป็นอาจารย์สอนอยู่ มหาวิทยาลัยรัฐฟลอริดาสเตต ชาราได้รับรางวัล Pulitzer Prize ในปี พ.ศ. 2518 (ค.ศ. 1975) ชาราเสียชีวิตด้วยโรคหัวใจ ในปี พ.ศ. 2531


จะเห็นได้ว่า การเริ่มต้นบทความ ประเทศไทย แม้จะมีรายละเอียดเพียงแค่ส่วนภูมิศาสตร์ แต่ยังมีเนื้อหาพอที่จะให้คนอื่นมาขยายความต่อได้ ขณะเดียวกัน บทความ ไมเคิล ชารา แม้ว่า จะมีการใช้ภาษาอังกฤษมาปน (อาจเนื่องจากผู้เขียนไม่รู้วิธีการสะกดที่ถูกต้อง) ก็ยังนับว่าเป็นการเริ่มต้นที่ดี และหากต้องการทับศัพท์นั้น อย่าลืมแวะเยี่ยม[[วิกิพีเดีย:คำทับศัพท์ที่ใช้ในวิกิพีเดีย|คำทับศัพท์ที่ใช้ในวิกิพีเดีย]]สำหรับรายชื่อคำทับศัพท์ที่ใช้ในวิกิพีเดีย หรือคุณสามารถเสนอคำใหม่ให้พิจารณาได้หากไม่อยู่ในรายชื่อ
เริ่มต้น เก็นจิ ทาเคยะ เข้าสู่โรงเรียน ซูซูรัน ( Suzuran High School ) ซึ่งเป็นที่รวม เด็กนักเรียนที่ไม่มีความสามารถทางด้านวิชาการ และ กีฬา ชอบใช้ความรุนแรงซึ่งกันและกัน และไม่ชอบอยู่รวมตัวกัน จึงได้ชื่อว่า อีกา ซึ่งทำให้เก็นจิ ทาเคยะ อยากพิชิตที่จะเป็นหัวหน้าของซูซูรันและรวมมันเป็นหนึ่งเดียว

'''Crows ZERO I''' กำเนิด 3 สิงห์แห่งโรงเรียนเอบึสึกะ ( พวก เฮริซามะ คอนโจ ซูเรฮาระ )

เริ่มด้วยการปฐมนิเทศของโรงเรียน ซึ่งมีการทะเลาะวิวาทกันตั้งแต่ยังไม่เปิดเรียนเลย ซึ่งเป็นการเปิดตัวของ 3 สิงห์จากโรงเรียนเอบึสึกะ ด้าน เซริซาวะ กำลังรอ โทเคโอะ ที่เป็นโรคเนื้องอกในสมองตรวจอยู่ที่โรงพยาบาล เซริซาวะ ขับรถมอเตอร์ไซต์ (ทั้งๆที่รู้ว่าตัวเองนั้นยังขับไม่เป็น) ของโทเคโอะ จนไปเจอตำรวจเข้า ทำให้ถูกตำรวจไล่จับส่วน เก็นจิ ซึ่งไปพ่นกำแพง ที่เขียนชื่อสำหรับ ผู้ที่คุมหรือหัวหน้าของซูซูรัน
ที่มีชื่อของ เซริซาวะ ทามาโอะ เก็นจิได้ลบแล้วเขียนชื่อตัวเองเข้าไป ขณะเดียวกันที่หน้าโรงเรียน มีกลุ่มยากูซ่า กลุ่มหนึ่งมาตามหา เซริซาวะ ที่ไปอัดลูกน้องของพวกเค้าเข้าโรงพยาบาล 1 คน ซึ่งเก็นจิไม่รู้เรื่องจึงเดินผ่านพวกยากูซ่าไป แต่พวกยากูซ่าไม่ชอบหน้า จึงเกิดการต่อสู้กันขึ้น ( เก็นจิอัดพวกนั้นซะน่วม ) เซริซาวะขับรถหนีมาถึงโรงเรียนจนมาพบเข้ากับเก็นจิเป็นครั้งแรก และตำรวจ ก็ลากคอ เซริซาวะ ขึ้นรถไป คืนนั้นเก็นจิไปเที่ยวบาร์ก็ได้พบกับ ไอซาวะ รูกะ ( นักร้องสาว ) วันรุ่งขึ้นเก็นจิได้ขึ้นไปหาเรื่องเซริซาวะบนดาดฟ้า แต่ถูกโทเคโอะที่เป็นเพื่อนเก็นจิตอนมัธยมต้นห้ามไว้ และพี่น้อง มิคามิ ก็มาท้าแทน และเซริซาวะก็จัดการพวกเค้า โทเคโอะได้บอกให้เก็นจิ ไปกำราบ รินดาแมน ให้ได้ก่อนถึงมาสู้กับ เซริซาวะ เก็นจิจึงยอมเลิกราไปง่ายๆ เมื่อลงมาข้างล่างเก็นจิได้ถูกเคนที่เป็นยากูซ่ามาหาเรื่องซึ่งเค้าคิดว่าเก็นจิเป็น เซริซาวะคนที่อัดลูกน้องของเค้า เคนเลยโดนลูกหลงไปและได้ทำความรู้จัก กันโดยเก็นจิขอให้เคน บอกเรื่องราวของซูซูรัน และการเข้ากับคน เก็นจิ ได้ทำตามที่เคนบอก เก็นจิเดินเข้าไปที่ห้องเรียนของตัวเองแล้วตะโกนว่า ในห้องนี้ใครเจ๋งที่สุด แล้ว ทามูระ ชูตะ ก็เดินออกมาแล้วก็โดนอัดตามเคย
หลังจากนั้นเคนก็ขอให้ซูตะเล่าเรื่องเกี่ยวกับโครงสร้างของซูซูรันให้เก็นจิฟัง ชูตะ พูดถึง แนวรบหุ้มเกราะ ซึ่งมีบันโด ฮิเดโตะ เป็นหัวหน้า ที่พึ่งย้ายย้ายมาเรียนที่ซูซูรัน ปี 2และเด็ก ปี 1 ที่เรียกว่ากลุ่ม 3 สิงห์เอบึสึกะ คือ คิริชิมะ , คอนโจ , ซูเรฮาระ และกล่าวถึง กลุ่มกองพัน เซริซาวะ ซึ่งมี โทเคะจิ ยูจิ , มัดซึโทโมโดะ โชจิ , ทะซึเควะ โทเคโอะ (หลังจากนั้นก็มีพี่น้องมิคามิจากห้อง B มารวมด้วย)และพูดถึง รินดาแมนที่มีฐานะเป็นผู้ชมในสงครามซูซูรัน ที่อยู่อีกระดับ และ มาคีเซะ ทาเคชิ (มัคกี้) ( แพ้เซริซาวะมาหลายครั้ง แต่ยังสู้เสมอทำให้ได้ใจจากลูกน้อง ) และเก็นจิ ได้รับความเชื่อถือจาก มัคกี้ โดยให้ คุมเด็กห้อง C วันรุ่งขึ้น มัตซึโทโมโดะไปบอกเซริซาวะว่ามัคกี้กำลังรวบรวมคนกับเก็นจิและจะไปรวมกับ อิซากิ ห้อง D แต่เซริซาวะไม่สนใจ ตัดไปอีกฉากพวก ''คิริชิมะ ฮิโรมิ'' กำลังอัดและคุม เด็กปี 1 ได้สำเร็จ อิซากิได้เข้ามาแสดงความยินดีในฐานะที่เป็นรุ่นพี่รุ่นน้องที่มาจากโรงเรียนเอบึสึกะเหมือนกันแต่ฮิโรมิกลับแสดงอาการไม่พอใจและท้าสู้แต่ถูกคอนโจห้ามไว้(อิซากิ แล้วพวก คิริชิมะ คอนโจ ซูเรฮาระ มาจากโรงเรียน เอบึสึกะ) ส่วนอิซากิ ได้หลอกให้เก็นจิไปถูกรุมโดยพวกของอิซากิเอง ทำให้เก็นจิแพ้ยับเยินแต่ก็ยังลุกขึ้นสู้เสมอแม้ไม่มีแรง ทำให้อิซากิเริ่มสนใจในตัวเก็นจิโดยแบกเก็นจิกลับไปหามัคกี้กับซูตะ และถามมัคกี้ว่าทำไมจึงยอมหนุนหลังเก็นจิ แต่มัคกี้ไม่ยอมบอก อิซากิจึงบอกว่าพรุ่งนี้เค้าจะสอนเก็นจิเล่นปาลูกดอก ในวันรุ่งขึ้นพวก อิซากิ มัคกี้ ชูตะ เก็นจิ ได้ก่อตั้ง '''GPS(Genji Perfect Seiha) :Seiha แปลว่า ครอบครอง: ขึ้นมา เซริซาวะเริ่มรู้ตัวแล้วว่าเค้าจะมองข้ามเก็นจิไม่ได้ โทเกะจิเห็นดังนั้นจึงคิดจะตัดกำลังเก็นจิโดยจัดการลอบกัดอิซากิซะ เก็นจิโมโหมากจะไปจัดการเซริซาวะแต่ถูกอิซากิห้ามไว้เพราะว่ากำลัง GPS คนยังน้อยอยู่ คืนนั้นเซริซาวะกับโทเคโอะเผลอเข้าไปร้านที่เก็นจิอยู่ทำให้เก็นจิตรงเข้าไปจะจัดการโทเคโอะแต่เซริซาวะมาห้ามไว้ แต่จู่ๆ โทเคโอะก็เกิดโรคกำเริบขึ้นทำให้ต้องเข้าโรงพยาบาล เก็นจิรู้สึกโมโหที่ทำอะไรเซริซาวะไม่ได้ทำให้อาละวาดไล่หาเรื่องคนอื่นไปทั่วทำให้มัคกี้บอกว่า เค้าตามเก็นจิแบบนี้ไม่ไหวและเดินหนีไป เก็นจิรู้สึกหมดหวังและท้อแท้จึงไประบายให้เคนฟัง เคนหาทางปลอบเก็นจิด้วยวิธีการต่าง ๆ เก็นจิได้เล่าเรื่องสาเหตุที่ตนเองมาเรียนที่ซูซูรันให้เคนฟังทำให้เคนรู้ว่าเก็นจิเป็นทายาทคนเดียวของท่าน ริวเซไก ที่เป็นคู่แข่งกับเจ้านายตนเอง เย็นนั้นเก็นจิ ได้กลับไปท้า มัคกี้สู้ โดยบอกว่าถ้าเค้าชนะ มัคกี้จะต้องกลับมาอยู่กับเค้าอีกครั้งด้านโทเคจิได้ไปขอให้พวกแนวรบหุ้มเกราะช่วยจับตัว รูกะ มาให้แล้วจะให้ยืมกำลังคนจังหวะเดียวกับที่อิซากิออกมาจากโรงพยาบาลพอดี และ เคนได้คำสั่งจากหัวหน้าของเค้า ให้ไปฆ่าเก็นจิ แต่เคนทำไม่ลงจึงไปบอกพ่อของเก็นจิแทนแล้วหายจากไป รูกะโทรหาเก็นจิบอกว่าถูกพวกสวมชุดหนังลายกะโหลกจับตัวมา เก็นจิโกรธมากจึงไปถล่มพวก บุโซเซนเซน ที่ไม่มีรูปหัวกะโหลก เพราะคนที่ 3 เพิ่งจะหมดอำนาจไป แล้วบันโด ฮิเดโตะหัวหน้าของบุโซเซนเซนได้บอกให้พอแค่นั้นแล้วบอกว่า ถ้าเกิด แก และ ฉัน สู้กันใครได้ประโยชน์มากกว่า อิซากิได้พูดชื่อเซริซาวะขึ้นมา บันโดบอกว่าต้องการหูของมัคกี้ 1 ข้างมาขอขมา แต่เก็นจิขอให้หูของตนเองแทนโดยจะให้ 2 ข้างเลย บันโดเห็นถึงความรักลูกน้องของเก็นจิจึงเปลี่ยนใจไม่เอาหูของเก็นจิและบอกว่า โทเคจิเป็นขอให้พวกเค้าไปจับตัวผู้หญิงมาเท่านั้น ให้เก็นจิไปช่วยรูกะซะ เก็นจิจึงรีบบุกไปหาโทเคจิทันที เซริซาวะเมื่อรู้เรื่องเข้าจึงโมโหและต่อยโทเคจิเต็มแรง และโทเคจิ บอกว่า ที่เราทำเพื่อเป็นสิ่งกำนัลว่าพวกเราชนะ อย่างแน่นอน เก็นจิจึงบอกว่าถึงเวลาที่พวกเค้าจะต้องสู้กันแล้วโดยนัดไปตีกันที่โรงเรียนซึ่งตรงกับวันที่ โทเคโอะต้องผ่าตัดสมองพอดี เซริซาวะเลือกที่จะอยู่สู้กับเก็นจิและขอให้โทเคจิร่วมสู้ด้วย ต่อสู้กันได้สักพักพวกเก็นจิเริ่มเสียเปรียบเพราะคนน้อยกว่า แต่บันโด ฮิเดโตะได้มาช่วยพวกเก็นจิไว้และได้บอกว่าเค้าต้องการหัวของเซริซาวะมาเซ่นไหว้ พวกคิริชิมะที่แอบดูอยู่รู้สึกแปลกใจที่บันโด ฮิเดโตะมาเข้าร่วมกับ GPSทั้งสองฝ่ายต่างเข้าต่อสู้กันจนเหลือแค่เก็นจิกับเซริซาวะ ทั้งคู่ได้เข้าสู้กันตัวต่อตัว และเก็นจิก็เป็นฝ่ายชนะในที่สุด
ตัดไปฉากสุดท้าย เก็นจิกำลังจะสู้กับรินดาแมน เคนถูกยิงหัวหน้ายิงแต่ไม่ตายเพราะใส่เสื่อเกราะไว้

'''Crows ZERO II''' ประวัติโรงเรียน ซูซูรันและโฮเซน

เริ่มต้นเนื้อเรื่องเก็นจิต่อสู้กับรินดาแมน ( แพ้ ) และเป็นฉากที่ย้อนไปเมื่อ 2 ปีก่อนที่ คาวานิชิ ได้เป็นหัวหน้าของซูซูรันและต่อสู้กับพวกโฮเซนวึ่งมีหัวหน้า
เป็น บิโตะ มาเคโอะ แต่ซูซูรันกำลังแพ้ คาวานิชิ ตัดสินใจไม่ได้จึง ใช้มีดแทง บิโตะ ตาย และคาวานิชิถูกเข้าสถานกักกัน

2 ปีผ่านไป คาวานิชิได้ออกจากสถานกักกัน แล้วมาเยี่ยมศพของเคน ทันใดนั้นเอง มีพวกนักเรียนโฮเซน มายืนล้อมแล้วบอกว่าจะมาชำระล้างที่เค้า
ได้แทงบิโตะ ไว้ คาวานิชิ วิ่งหนี จนไปเจอพวกเซริซาวะ หลังจากที่เก็นจิสู้กับเซริซาวะ เสร็จได้มาเห็นจึงเกิดการทะเลาะกัน และนักเรียนโฮเซนบอกว่า
สัญญาสงบศึกจบลง แล้วนารุมิ ไทกะ ได้บอกให้พวกลูกน้องไปจัดการทีละคน ๆ ซึ่งเป็นการประกาศศึกเช่นกัน
เก็นจิ และเซริซาวะ ยังไม่รวมตัวกัน และพวกโฮเซนไปเผาโรงยิมของซูซูรัน แล้วนารุมิได้เรียก บิโตะ ทัตสึยะ มารวมแต่เค้ากลับปฏิเสธ
ส่วนเก็นจิได้ไปท้าโฮเซน ต่อสู้ แต่กำลังพลของซูซูรันน้อยหนักเพราะ เซริซาวะ ไม่ร่วมด้วย และเด็กปี 1 อีก
จึงทำให้เก็นจิตัดสินใจ ลุยเดียวแต่อิซากิ คิดทันจึงเรียกพวกพ้องไปช่วยแล้ว เก็นจิก็ได้ต่อสู้กับนารุมิ จนชนะในที่สุด
เก็นจิได้ไปต่อสู้กับรินดาแมนอีกครั้ง ( มันบ้าจริง ๆ )

'''Crows Explode''' เข้าฉายปี 2014

'''Crows ONE'''

ยังไม่มีเนื้อเรื่องมากนักปัจจุบันดูใน Youtube จะมีแค่ 11 ตอนซึ่งเป็นตอนที่โบยะ สู้กับ รินดาแมน

'''Crows'''

หนังสือการ์ตูนที่ได้รับความนิยมมากในญี่ปุ่นซึ่งมียอดตีพิมพ์กว่า 32,000,000 เล่ม
เนื้อเรื่องเริ่มที่ โบยะ ฮารุมิจิ เด็กมีปัญหาที่ย้ายมาเรียนปี2(ม.5)ที่โรงเรียนอีกา ซึ่งเป็นแหล่งรวม ของพวกเด็กมีปัญหา ไม่ชอบอยู่รวมตัวกันเหมือนพวกอีกา
เนื่องจากพระเอกย้อมผมสีทอง(ออกแดงๆ)เหมือนกับจะทำตัวเป็นจุดเด่น ทำให้คิริชิมะ(3สิงห์แห่งโรงเรียนเอบึสึกะ)ไม่ชอบขี้หน้าแหละมีเรื่องกันในที่สุด
แต่ทว่า ที่จริงแล้วกลุ่ม3สิงห์แห่งโรงเรียนเอบึสึกะนี้เป็นตัวถ่วงอำนาจของกลุ่มใหญ่ที่สุดของโรงเรียนคือ กลุ่มของบันโด ฮิเดโตะ ม.6(ปี3) 1ใน4 รองหัวหน้าแห่งกลุ่มบุโซเซนเซน ซึ่งการที่เขามาที่โรงเรียนแห่งนี้ทำให้เกิดเรื่องขึ้น และบันโด ฮิเดโตะก็กลับมาจากการพักการเรียน และทำให้มีเรื่องราวชกต่อยกันจนในที่สุดเขาก็จัดการกับบันโด ฮิเดโตะได้ หลังจากนั้นเขาก็ได้พบกับ รินดาแมน(ฉายา)ปี3ซึ่งเป็นผู้ถูกขนาดนามว่าแข็งแกร่งที่สุดในโรงเรียนและมีเรื่องเล่าว่าเขาฆ่าพ่อของตนเองตาย พวกคิริชิมะก็เคยมีเรื่องชกต่อยกับเขามาแล้ว และโบยะก็ได้พบกับเขาและมีเรื่องชกต่อยกันซึ่งครั้งแรกเสมอกันแต่ต่างฝ่ายต่างคิดว่าอีกฝ่ายเป็นผู้ชนะทำให้เป็นคู่กัดกัน จำได้แค่นี้แหละเนื่องจากดูใน Youtube มา ต่อจากนั้นก็มีเรื่องพวกบุโซเซนเซนซึ่งโบยะคนเดียวทำลายแก๊งบุโซเซนเซนลงเพียงคนเดียว

'''WORST''

ภาคต่อของ Crows


== การจัดหน้า ==
== การจัดหน้า ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:52, 30 มีนาคม 2557

หน้านี้เป็นแนวทางในการเขียนบทความให้ดียิ่งขึ้น แม้ไม่ใช่กฎตายตัวที่ต้องปฏิบัติตาม แต่เพื่อให้เนื้อหาและรูปแบบมีแนวทางสอดคล้องกันทั้งวิกิพีเดีย ดูบทความที่เป็นตัวอย่างดี ได้ที่ วิกิพีเดีย:บทความคัดสรร และ วิกิพีเดีย:บทความคุณภาพ

บทความที่สมบูรณ์

บทความที่สมบูรณ์ ในลักษณะสารานุกรมของวิกิพีเดีย เป็นบทความที่สอดคล้องกับนโยบายของวิกิพีเดีย และบทความต้องประกอบไปด้วย

  • ชื่อที่มีการทำตัวหนา (โดยใส่ เครื่องหมาย ' 3 ครั้ง หน้าหลังชื่อบทความเช่น '''ตัวอย่าง''') แสดงให้เห็นถึงชื่อบทความนั้น
  • ต้องมี [[ลิงก์]] อย่างน้อย 1 ลิงก์ เป็นลิงก์ภายในวิกิพีเดียไทยเอง (วิกิลิงก์)
  • มีการจัดหมวดหมู่ อย่างเหมาะสม
  • รูปแบบการเขียนในบทความเป็นไปในทิศทางเดียวกัน

การเริ่มต้น

สำหรับการเริ่มต้นบทความในย่อหน้าแรก อย่างน้อยควรอธิบายความหมายและความสำคัญของหัวเรื่องนั้น (เช่นเป็นอะไร คือใคร สำคัญอย่างไร) และเป็นการสรุปเนื้อหาอย่างย่อในหัวข้อที่จะเขียนต่อไป เน้นตัวหนาคำหลักที่ตรงกับหัวเรื่องเพียงครั้งแรก สำหรับชื่ออื่นที่เปลี่ยนทางมาอาจทำตัวหนาหรือไม่ก็ได้ตามความเหมาะสม

ตัวอย่าง การเริ่มต้นบทความที่ไม่ดี
ตัวอย่าง การเริ่มต้นบทความที่ดี
  • ประเทศไทย เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนทางทิศตะวันออกติดลาว และกัมพูชา ทิศใต้ติดอ่าวไทย และมาเลเซีย ทางทิศตะวันตกติดทะเลอันดามัน และพม่า และทางทิศเหนือติดพม่า และลาวโดยมีแม่น้ำโขงกั้นเป็นบางช่วง
  • ไมเคิล ชารา เป็นนักเขียนนิยายวิทยาศาสตร์ นิยายกีฬา และนิยายประวัติศาสตร์ ชาราเริ่มขายนิยายวิทยาศาสตร์ในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1950 โดยหลังจากนั้นได้เป็นอาจารย์สอนอยู่ มหาวิทยาลัยรัฐฟลอริดาสเตต ชาราได้รับรางวัล Pulitzer Prize ในปี พ.ศ. 2518 (ค.ศ. 1975) ชาราเสียชีวิตด้วยโรคหัวใจ ในปี พ.ศ. 2531

จะเห็นได้ว่า การเริ่มต้นบทความ ประเทศไทย แม้จะมีรายละเอียดเพียงแค่ส่วนภูมิศาสตร์ แต่ยังมีเนื้อหาพอที่จะให้คนอื่นมาขยายความต่อได้ ขณะเดียวกัน บทความ ไมเคิล ชารา แม้ว่า จะมีการใช้ภาษาอังกฤษมาปน (อาจเนื่องจากผู้เขียนไม่รู้วิธีการสะกดที่ถูกต้อง) ก็ยังนับว่าเป็นการเริ่มต้นที่ดี และหากต้องการทับศัพท์นั้น อย่าลืมแวะเยี่ยมคำทับศัพท์ที่ใช้ในวิกิพีเดียสำหรับรายชื่อคำทับศัพท์ที่ใช้ในวิกิพีเดีย หรือคุณสามารถเสนอคำใหม่ให้พิจารณาได้หากไม่อยู่ในรายชื่อ

การจัดหน้า

แบ่งแยกเป็น 3 ส่วนหลัก ส่วนบทนำ ส่วนเนื้อหา และส่วนหมวดหมู่ และลิงก์ข้ามภาษา โดย

  1. ส่วนบทนำ เป็นส่วนที่สำคัญที่สุดของบทความ ปรากฏในย่อหน้าแรก (หรือมากกว่านั้น) ของบทความ เนื้อหาเกี่ยวกับข้อความสรุปของบทความนั้นๆ โดยเขียนเริ่มต้น เพื่อให้ผู้อ่านรู้ภาพรวมว่า บทความที่อ่านอยู่ คือบทความเกี่ยวกับอะไร โดยไม่จำเป็นต้องมีเนื้อหาย่อยลงไปใน หรือมีศัพท์เฉพาะ เช่น
    • บทความชีวประวัติ ว่าบุคคลนั้น คือใครและมีและผลงานอะไรที่เป็นที่รู้จัก โดยเนื้อความอื่นๆ เช่น ชีวิตครอบครัว หน้าที่การงาน รางวัล หรือผลงานอื่นๆ ควรจะนำไปใส่ในส่วนเนื้อหาตามเหมาะสม
    • บทความสถานที่ หรือ เมือง เขียนเกี่ยวกับ ภาพรวมของสถานที่นั้น โดยบอกความสำคัญของสถานที่
    • บทความส่วนนี้ไม่ควรเขียนคำศัพท์เฉพาะ เพื่อให้คนที่ไม่ได้มีความสนใจในเรื่องนั้นเป็นพิเศษ สามารถอ่านเข้าใจได้
    • ถ้าหากจำเป็นต้องใช้กล่องข้อมูลสรุปเนื้อหา (infobox) ให้ใส่ไว้ก่อนขึ้นย่อหน้าแรก
  2. ส่วนเนื้อหาเขียนอธิบายบทความโดยแบ่งแยกหัวข้อตามความเหมาะสม
    • แบ่งเนื้อหา ออกเป็นหัวข้อย่อย โดยแต่ละหัวข้อจะแสดงผลในส่วนของสารบัญของเนื้อหานั้น หัวข้อควรจะเป็นคำที่กระชับ ชัดเจน ไม่เย้นเย้อ และขณะเดียวกันก็ไม่ควรสั้นจนเกินไป
    • ตัวอย่างชื่อหัวข้อย่อย ของส่วนเนื้อหา เช่น ในบทความประเทศไทย สามารถแบ่งเป็น "ประวัติศาสตร์" "ภูมิประเทศและภูมิอากาศ" "การศึกษา" "สถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญ"
  3. ส่วนหมวดหมู่ และลิงก์ข้ามภาษา ส่วนนี้เป็นส่วนสำคัญอีกส่วนหนึ่ง เพื่อให้แต่ละบทความสามารถจัดเก็บและเชื่อมโยงกันได้ ท้ายสุดของบทความ ต้องจัดหมวดหมู่และลิงก์ข้ามภาษา โดยหมวดหมู่จะเป็นการเชื่อมโยงแต่ละบทความในวิกิพีเดียภาษาไทย ส่วนลิงก์ข้ามภาษาเป็นการเชื่อมโยงระหว่างบทความเดียวกันในภาษาอื่นๆ
    • กล่องท้ายเรื่อง (navbox) เป็นกล่องที่รวมการเชื่อมโยงบทความที่เกี่ยวข้อง ให้ใส่ไว้ที่ส่วนสุดท้ายของเนื้อหา ก่อนหมวดหมู่
    • แม่แบบ {{เรียงลำดับ}} ซึ่งใช้สำหรับการเรียงลำดับตามตัวอักษรที่ต้องการในดัชนีหมวดหมู่ หากจำเป็นต้องใช้ ให้ใส่ไว้ที่ส่วนสุดท้ายของเนื้อหา (และหลังจากกล่องท้ายเรื่อง) ก่อนหมวดหมู่
    • สำหรับบทความที่ยังเป็นโครงบทความ ใส่แม่แบบ {{โครง}} (และแม่แบบโครงประเภทอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง) ไว้หลังส่วนหมวดหมู่
    • แม่แบบแสดงบทความคัดสรรในวิกิพีเดียภาษาอื่นๆ เช่น {{Link FA|de}} ให้ใส่รวมไว้ก่อนลิงก์ข้ามภาษา

ส่วนท้ายของเนื้อหา

ในส่วนท้ายของเนื้อหา จะเป็นการเขียนหรือเชื่อมโยงไปยังที่มา หรือบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่

อ้างอิง

ถ้าบทความที่เขียนมีการอ้างอิงจากหนังสือหรือเว็บไซต์ ให้ทำส่วน "อ้างอิง" โดยเขียน == อ้างอิง == ในย่อหน้าใหม่ ถ้ามีการอ้างอิงมากกว่าหนึ่งแหล่ง ให้เขียนแต่ละแหล่งแยกบรรทัดกัน แต่ละบรรทัดขึ้นต้นด้วยเครื่องหมายดอกจัน * ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ วิกิพีเดีย:การอ้างอิงแหล่งที่มา

ดูเพิ่ม

ถ้ามีการแนะนำให้ผู้อ่าน อ่านบทความอื่นในวิกิพีเดีย ที่เกี่ยวข้องกับบทความนั้นๆ ให้ใส่ไว้ในหัวข้อย่อย "ดูเพิ่ม" เขียนโดยใช้คำสั่ง == ดูเพิ่ม == แต่ละบรรทัดขึ้นต้นด้วยเครื่องหมายดอกจัน * ตามด้วยลิงก์ภายในวิกิพีเดียของบทความอื่น

แหล่งข้อมูลอื่น

ถ้ามีการแนะนำไปยังแหล่งข้อมูลเพิ่มเติมอื่น ที่ไม่ได้ใช้อ้างอิงเนื้อหาข้อมูลในบทความ เช่น ข่าว หรือ เนื้อหาเพิ่มเติม ให้เขียนแต่ละลิงก์แยกบรรทัดกัน โดยขึ้นต้นด้วยเครื่องหมายดอกจัน * เพื่อจัดย่อหน้า และเขียนคำอธิบายในภาษาไทยกำกับให้กระชับชัดเจน เพื่อให้ผู้อ่านพิจารณาได้ก่อนเข้าไปอ่าน และเนื่องจากวิกิพีเดียไม่ใช่เว็บรวมลิงก์ ให้คัดเลือกเฉพาะลิงก์ที่เหมาะสม หากพบว่าลิงก์ไหนไม่เกี่ยวข้องก็สามารถเอาออกได้ทันที โดยให้ลำดับความสำคัญจากบนลงล่าง โดยเว็บด้านบนเป็นเว็บที่สำคัญที่สุด ตัวอย่างเช่น

* [http://www.aaa.com/ รายละเอียดเกี่ยวกับ...]
* [http://www.bbb.com/ บทสัมภาษณ์เกี่ยวกับ...]
* [http://www.ccc.com/ รวมผลงานเกี่ยวกับ...]

ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ วิกิพีเดีย:แหล่งข้อมูลอื่น


สรุปรูปแบบพื้นฐานในวิกิพีเดียภาษาไทย

{{กล่องข้อมูล ___}}
'''ชื่อเรื่อง''' ความหมายและสรุปเนื้อหาบทความอย่างคร่าว ๆ

== หัวข้อ 1 ==
รายละเอียดสำหรับหัวข้อ 1

=== หัวข้อ 1.1 ===
รายละเอียดสำหรับหัวข้อ 1.1

==== หัวข้อ 1.1.1 ====
รายละเอียดสำหรับหัวข้อ 1.1.1

=== หัวข้อ 1.2 ===
รายละเอียดสำหรับหัวข้อ 1.2

== หัวข้อ 2 ==
รายละเอียดสำหรับหัวข้อ 2

== เชิงอรรถ ==
* รายการเชิงอรรถ (เชิงอรรถและอ้างอิงอาจใช้ร่วมกันได้ถ้าเชิงอรรถมีไม่มาก)

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}

== ดูเพิ่ม ==
* [[บทความอื่น]] (ในวิกิพีเดีย)

== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* ลิงก์ภายนอกที่เกี่ยวกับบทความนี้

{{กล่องท้ายเรื่อง}}

{{เรียงลำดับ|___}}
[[หมวดหมู่:___]]
{{โครง___}}

{{Link GA|___}}
{{Link FA|___}}

[[de:___]]
[[en:___]]
[[fr:___]]

ดูเพิ่ม