ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้ใช้:Phizaz/montanaclassbattleship"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Phizaz (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Phizaz (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัด 64: บรรทัด 64:
สหรัฐอเมริกาได้วางแผนที่จะสร้างเรือชั้นมอนทานาไว้ถึง 5 ลำด้วยกันคือ Montana, Ohio, Maine, New Hampshire และ Louisiana ทั้งห้าลำได้รับอนุมัติให้สร้างเรียบร้อยแล้วระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง แต่การต่อเรือถูกยกเลิกเสียก่อนเนื่องจากมีความต้องการ[[เรือบรรทุกเครื่องบินชั้นเอสเซ็กซ์]] และเรือประจัญบาญอื่น ๆ ในชั้นไอโอวามากกว่า จึงทำให้ไม่มีเรือชั้นมอนทานาลำใดถูกวางกระดูกงูเพื่อก่อสร้างจนถึงปัจจุบัน
สหรัฐอเมริกาได้วางแผนที่จะสร้างเรือชั้นมอนทานาไว้ถึง 5 ลำด้วยกันคือ Montana, Ohio, Maine, New Hampshire และ Louisiana ทั้งห้าลำได้รับอนุมัติให้สร้างเรียบร้อยแล้วระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง แต่การต่อเรือถูกยกเลิกเสียก่อนเนื่องจากมีความต้องการ[[เรือบรรทุกเครื่องบินชั้นเอสเซ็กซ์]] และเรือประจัญบาญอื่น ๆ ในชั้นไอโอวามากกว่า จึงทำให้ไม่มีเรือชั้นมอนทานาลำใดถูกวางกระดูกงูเพื่อก่อสร้างจนถึงปัจจุบัน


การวางแผนการต่อเรือชั้นมอนทานาถูกวางไว้ตั้งแต่ก่อนที่สหรัฐจะเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่สอง และเรือในชั้นนี้สองลำแรกได้รับการอนุมัติให้สร้างจากสภาคองเกรสในปี 1939 ภายหลังจากการโจมตีที่อ่าวเพิร์ลฮาร์เบอร์โดยจักรวัรรดิญี่ปุ่น ทำให้สหรัฐอเมริกาเลื่อนแผนการต่อเรือชั้นนี้ออกไป หลังจากนั้น ความสำเร็จจากการต่อสู้ทางอากาศในการรบที่ Coral Sea และต่อด้วย[[ยุทธนาวีเกาะมิดเวย์]] ก็แสดงให้เห็นถึงแสนยานุภาพของเรือบรรทุกเครื่องบินที่มีความสำคัญในการรบเหนือกว่าเรือประจัญบาญ ประกอบกับความต้องการเรือบรรทุกเครื่องบิน เรือสะเทินน้ำสะเทินบก เรือต่อต้านเรือดำน้ำ และยังมีความต้องการเรือประจัญบาญชั้นไอโอวาเพิ่มเติมเนื่องจากสามารถเคลื่อนที่ได้เร็วพอที่จะใช้คุ้มกับเรือบรรทุกเครื่องบินชั้นเอสเซ็กซ์ ด้วยเหตุผลทั้งหมดนี้ทำให้เรือประจัญบาญชั้นมอนทานาถูกยกเลิกการสร้างถาวร และสหรัฐก็ไม่มีแผนในการสร้างเรือประจัญบาญใด ๆ อีกเลยในเวลาต่อมา ทำให้เรือประจัญบาญชั้นไอโอวาทั้งสี่ลำดำรงความเป็นเรือประจัญบาญที่ใหญ่ที่สุดเท่าที่สหรัฐเคยต่อมาจนถึงปัจจุบัน
การวางแผนการต่อเรือชั้นมอนทานาถูกวางไว้ตั้งแต่ก่อนที่สหรัฐจะเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่สอง และเรือในชั้นนี้สองลำแรกได้รับการอนุมัติให้สร้างจากสภาคองเกรสในปี 1939 ภายหลังจากการโจมตีที่อ่าวเพิร์ลฮาร์เบอร์โดยจักรวัรรดิญี่ปุ่นทำให้สหรัฐอเมริกาเลื่อนแผนการต่อเรือชั้นนี้ออกไป หลังจากนั้น ความสำเร็จจากการต่อสู้ทางอากาศในการรบที่ Coral Sea และต่อด้วย[[ยุทธนาวีเกาะมิดเวย์]] ก็แสดงให้เห็นถึงแสนยานุภาพของเรือบรรทุกเครื่องบินที่มีความสำคัญในการรบเหนือกว่าเรือประจัญบาญ ประกอบกับความต้องการเรือบรรทุกเครื่องบิน เรือสะเทินน้ำสะเทินบก เรือต่อต้านเรือดำน้ำ และยังมีความต้องการเรือประจัญบาญชั้นไอโอวาเพิ่มเติมเนื่องจากสามารถเคลื่อนที่ได้เร็วพอที่จะใช้คุ้มกับเรือบรรทุกเครื่องบินชั้นเอสเซ็กซ์ ด้วยเหตุผลทั้งหมดนี้ทำให้เรือประจัญบาญชั้นมอนทานาถูกยกเลิกการสร้างถาวร และสหรัฐก็ไม่มีแผนในการสร้างเรือประจัญบาญใด ๆ อีกเลยในเวลาต่อมา ทำให้เรือประจัญบาญชั้นไอโอวาทั้งสี่ลำดำรงความเป็นเรือประจัญบาญที่ใหญ่ที่สุดเท่าที่สหรัฐเคยมีต่อมาจนถึงปัจจุบัน


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 08:35, 28 มีนาคม 2557


A model depicting what the Montana class would have looked like had they been completed
A 1944 model of a Montana-class battleship
ชั้นเรือโดยสรุป
ชื่อ:เรือประจัญบาญชั้นมอนทานา
สร้างที่:New York Naval Shipyard
Philadelphia Naval Shipyard
Norfolk Naval Shipyard
ผู้ใช้งาน:Naval flag of สหรัฐ กองทัพเรือสหรัฐ
ชั้นก่อนหน้า:เรือประจัญบาญชั้นไอโอวา
ชั้นถัดไป:ไม่มี
แผนที่จะสร้าง:5
สร้างเสร็จ:0
ยกเลิก:5
มอนทานา (BB-67)
โอไฮโอ (BB-68)
เมน (BB-69)
นิวแฮมป์ไชร์ (BB-70)
ลุยเซียนา (BB-71)
ลักษณะเฉพาะ
ขนาด (ระวางขับน้ำ): 66,040 ตัน (ปกติ);[1]
72,104 ตัน (เต็มที่)[2][3][4]
ความยาว: 920 ft 6 in (280.57 m)[2]
ความกว้าง: 121 ft 0 in (36.88 m)[2]
กินน้ำลึก: 36 ft 1 in (11.00 m)[2]
ระบบขับเคลื่อน: 8 × Babcock & Wilcox 2-drum express type boilers powering 4 sets of Westinghouse geared steam turbines 4 × 43,000 hp (32 MW)[2] – 172,000 shp (128 MW) total power
ความเร็ว: 28 kn (32 mph; 52 km/h) (สูงสุด)[2][5]
พิสัยเชื้อเพลิง: 15,000 ไมล์ทะเล (17,000 ไมล์; 28,000 กิโลเมตร) ที่ 15 kn (17 mph; 28 km/h)[1]
อัตราเต็มที่: ปกติ: 2,355 คน[2]
เรือธง: 2,789 คน[2]
ยุทโธปกรณ์: 12 × ปืนใหญ่มาร์ค 7 16-นิ้ว (406-มิลลิเมตร)/50 cal[2]
20 × ปืนใหญ่มาร์ค 16 5-นิ้ว (127-มิลลิเมตร)/54 cals[2]
10–40 × ปืนต่อสู้อากาศยาน Bofors 40 mm[2]
56 × ปืนต่อสู้อากาศยาน Oerlikon 20 mm[2]
เกราะ: Side belt: 16.1 นิ้ว (409 มิลลิเมตร) tapering to 10.2 นิ้ว (259 มิลลิเมตร) on 1-นิ้ว (25-มิลลิเมตร) STS plate inclined 19°
Lower side belt: 7.2 นิ้ว (183 มิลลิเมตร) tapered to 1 นิ้ว (25 มิลลิเมตร) inclined 10°[1]
Bulkheads: 18 นิ้ว (457 มิลลิเมตร) forward, 15.25 นิ้ว (387 มิลลิเมตร) aft[1]
Barbettes: 21.3 นิ้ว (541 มิลลิเมตร), 18 นิ้ว (457 มิลลิเมตร) (aft)[1]
Turrets: up to 22.5 นิ้ว (572 มิลลิเมตร)
Decks: up to 6 นิ้ว (152 มิลลิเมตร)
อากาศยาน: 3–4 × เครื่องบินน้ำ Vought OS2U Kingfisher/Curtiss SC Seahawk
อุปกรณ์สนับสนุนการบิน: 2 × เครื่องปล่อยเครื่องบินน้ำ[3]
หมายเหตุ: เป็นเรือประจัญบาญชั้นสุดท้ายที่ออกแบบโดยสหรัฐอเมริกาแม้จะมีแผนการสร้างต่อถูกยกเลิกเสียก่อน

เรือประจัญบาญชั้นมอนทานา (อังกฤษ: Montana-class battleships) แห่งกองทัพเรือสหรัฐเป็นเรือประจัญบาญชั้นต่อจากเรือประจัญบาญชั้นไอโอวา แม้จะไม่รวดเร็วเท่าแต่กอปรไปด้วยระวางขับน้ำที่ใหญ่กว่า อาวุธที่หนักกว่า เกราะที่หนากว่า และความสามารถต่อสู้อากาศยานที่เหนือกว่าชั้นไอโอวา ซึ่งแน่นอนว่านี่จะเป็นเรือประจัญบาญที่ใหญ่และแข็งแกร่งที่สุดเท่าที่สหรัฐอเมริกาเคยออกแบบและวางแผนที่จะสร้าง และจะเป็นเรือรุ่นเดียวที่สามารถเทียบชั้นได้กับเรือประจัญบาญชั้นยามาโตะแห่งกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นในแง่ของเกราะและขนาดของระวางขับน้ำ

สหรัฐอเมริกาได้วางแผนที่จะสร้างเรือชั้นมอนทานาไว้ถึง 5 ลำด้วยกันคือ Montana, Ohio, Maine, New Hampshire และ Louisiana ทั้งห้าลำได้รับอนุมัติให้สร้างเรียบร้อยแล้วระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง แต่การต่อเรือถูกยกเลิกเสียก่อนเนื่องจากมีความต้องการเรือบรรทุกเครื่องบินชั้นเอสเซ็กซ์ และเรือประจัญบาญอื่น ๆ ในชั้นไอโอวามากกว่า จึงทำให้ไม่มีเรือชั้นมอนทานาลำใดถูกวางกระดูกงูเพื่อก่อสร้างจนถึงปัจจุบัน

การวางแผนการต่อเรือชั้นมอนทานาถูกวางไว้ตั้งแต่ก่อนที่สหรัฐจะเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่สอง และเรือในชั้นนี้สองลำแรกได้รับการอนุมัติให้สร้างจากสภาคองเกรสในปี 1939 ภายหลังจากการโจมตีที่อ่าวเพิร์ลฮาร์เบอร์โดยจักรวัรรดิญี่ปุ่นทำให้สหรัฐอเมริกาเลื่อนแผนการต่อเรือชั้นนี้ออกไป หลังจากนั้น ความสำเร็จจากการต่อสู้ทางอากาศในการรบที่ Coral Sea และต่อด้วยยุทธนาวีเกาะมิดเวย์ ก็แสดงให้เห็นถึงแสนยานุภาพของเรือบรรทุกเครื่องบินที่มีความสำคัญในการรบเหนือกว่าเรือประจัญบาญ ประกอบกับความต้องการเรือบรรทุกเครื่องบิน เรือสะเทินน้ำสะเทินบก เรือต่อต้านเรือดำน้ำ และยังมีความต้องการเรือประจัญบาญชั้นไอโอวาเพิ่มเติมเนื่องจากสามารถเคลื่อนที่ได้เร็วพอที่จะใช้คุ้มกับเรือบรรทุกเครื่องบินชั้นเอสเซ็กซ์ ด้วยเหตุผลทั้งหมดนี้ทำให้เรือประจัญบาญชั้นมอนทานาถูกยกเลิกการสร้างถาวร และสหรัฐก็ไม่มีแผนในการสร้างเรือประจัญบาญใด ๆ อีกเลยในเวลาต่อมา ทำให้เรือประจัญบาญชั้นไอโอวาทั้งสี่ลำดำรงความเป็นเรือประจัญบาญที่ใหญ่ที่สุดเท่าที่สหรัฐเคยมีต่อมาจนถึงปัจจุบัน

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 "US Battleships". USS Missouri Memorial Association. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 August 2007. สืบค้นเมื่อ 2007-10-03.
  2. 2.00 2.01 2.02 2.03 2.04 2.05 2.06 2.07 2.08 2.09 2.10 2.11 Newhart, Max R. (May 2007) [1995]. American Battleships: A Pictorial History of BB-1 to BB-71 with prototypes Maine & Texas (Battleship Memorial ed.). Missoula, Montana: Pictorial Histories Publishing Company. pp. 102–106. ISBN 1-57510-004-5. {{cite book}}: |access-date= ต้องการ |url= (help)
  3. 3.0 3.1 Yarnall, Paul R. "NavSource Online: Battleship Photo Archive (BB-67 USS Montana)". NavSource Naval History: Photographic History Of The U.S. Navy. NavSource Team. p. 148. สืบค้นเมื่อ 2008-05-30.
  4. These would have been the heaviest warships in the US Navy at the time of their commissioning; and would have remained the class with the greatest displacement until the commissioning of the Forrestal-class aircraft carriers, which weighed 79,300 long ton (80,600 t) fully loaded. "CV-59 Forrestal class". Military Analysis Network. Federation of American Scientists. 6 March 1999. สืบค้นเมื่อ 2007-12-24.
  5. Johnston, Ian; McAuley, Rob (2002). The Battleships. London: Channel 4 Books (an imprint of Pan Macmillian, LTD). p. 122. ISBN 0-7522-6188-6.{{cite book}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)