ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อหิงสา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Cupidrider (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:


อหิงสาเป็นคุณธรรมหลักอย่างหนึ่ง<ref name=evpc/>และเป็นความเชื่อสำคัญของศาสนาแบบอินเดียที่สำคัญ ([[ศาสนาฮินดู]] [[ศาสนาพุทธ]]และ[[ศาสนาเชน]]) อหิงสาเป็นมโนทัศน์หลายมิติ<ref name=arapura>John Arapura in K. R. Sundararajan and Bithika Mukerji Ed. (1997), Hindu spirituality: Postclassical and modern, ISBN 978-8120819375; see Chapter 20, pages 392-417</ref> ได้รับบันดาลใจจากข้อตั้งที่ว่าสิ่งมีชีวิตทั้งปวงล้วนมีเสี้ยวหนึ่งของพลังงานวิญญาณเทวะ การทำร้ายสิ่งอื่นจึงเป็นการทำร้ายตนเอง อหิงสายังเกี่ยวข้องกับแนวคิดที่ว่า ความรุนแรงใด ๆ มีผลกรรมสะท้อนกลับมา ขณะที่ปราชญ์ฮินดูสมัยโบราณบุกเบิกและพัฒนาหลักการอหิงสา มโนทัศน์ดังกล่าวกลายมามีสถานะพิเศษในปรัชญาจริยธรรมของศาสนาเชน<ref name=evpc>Stephen H. Phillips & other authors (2008), in Encyclopedia of Violence, Peace, & Conflict (Second Edition), ISBN 978-0123739858, Elsevier Science, Pages 1347–1356, 701-849, 1867</ref><ref name=chapple1990>Chapple, C. (1990). Nonviolence to animals, earth and self in Asian Traditions (see Chapter 1). State University of New York Press (1993)</ref> [[มหาตมา คานธี]]ขึ้นชื่อมากที่สุดว่าเป็นผู้เชื่อในหลักอหิงสาอย่างแรงกล้า
อหิงสาเป็นคุณธรรมหลักอย่างหนึ่ง<ref name=evpc/>และเป็นความเชื่อสำคัญของศาสนาแบบอินเดียที่สำคัญ ([[ศาสนาฮินดู]] [[ศาสนาพุทธ]]และ[[ศาสนาเชน]]) อหิงสาเป็นมโนทัศน์หลายมิติ<ref name=arapura>John Arapura in K. R. Sundararajan and Bithika Mukerji Ed. (1997), Hindu spirituality: Postclassical and modern, ISBN 978-8120819375; see Chapter 20, pages 392-417</ref> ได้รับบันดาลใจจากข้อตั้งที่ว่าสิ่งมีชีวิตทั้งปวงล้วนมีเสี้ยวหนึ่งของพลังงานวิญญาณเทวะ การทำร้ายสิ่งอื่นจึงเป็นการทำร้ายตนเอง อหิงสายังเกี่ยวข้องกับแนวคิดที่ว่า ความรุนแรงใด ๆ มีผลกรรมสะท้อนกลับมา ขณะที่ปราชญ์ฮินดูสมัยโบราณบุกเบิกและพัฒนาหลักการอหิงสา มโนทัศน์ดังกล่าวกลายมามีสถานะพิเศษในปรัชญาจริยธรรมของศาสนาเชน<ref name=evpc>Stephen H. Phillips & other authors (2008), in Encyclopedia of Violence, Peace, & Conflict (Second Edition), ISBN 978-0123739858, Elsevier Science, Pages 1347–1356, 701-849, 1867</ref><ref name=chapple1990>Chapple, C. (1990). Nonviolence to animals, earth and self in Asian Traditions (see Chapter 1). State University of New York Press (1993)</ref> [[มหาตมา คานธี]]ขึ้นชื่อมากที่สุดว่าเป็นผู้เชื่อในหลักอหิงสาอย่างแรงกล้า

ในประเทศไทย ก็มีการชุมนุมหลายรูปแบบ ที่อ้างว่าใช้หลัก อหิงสา

เช่น การประท้วงรัฐบาลรักษาการณ์ของ น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นำโดย '''กบฏ สุเทพ เทือกสุบรรณ''' เพื่อเรียกร้องให้มีการยกเลิก '''พรบ นิรโทษกรรม''' แต่พอท่านนายกได้ยกเลิกไปแล้ว กบฏนายนี้ก็ยกเรื่องให้มีการปฏิรูปประเทศไทยซึ่งก่อนหน้านี้ตนเองก็เคยเป็นรัฐบาลที่ได้มาด้วยความไม่โปร่งใสประเด็นคือทำไมกบฏผู้นี้จึงไม่ปฏิรูปในสมัยที่ตนเป็นรัฐบาลกลับพึ่งมาเรียกร้องตอนตนเองแพ้เลือกตั้งมาแล้วกว่า20ปี โดยการไม่ฟังเสียงส่วนมาก โดยอ้างว่ามีเสียงของมวลมหาประชาชนส่นใหญ่ทั่วทั้งประเทศจำนวนมากสนับสนุนตัวเองอยู่ แต่หารู้ไม่ว่าเป็นเพียงแค่การคิดไปเองที่จริงแล้วเป็นเพียงเสียงเล็กๆไม่ถึง 15% ของคนทั้งประเทศ และยังยั้วยุให้เกิดความรุนแรงภายในประเทศทำให้ประชาชนผู้รักประชาธิปไตรล้มตายไปเป็นจำนวนมาก ซึ่งท่านนายกได้ใช้ความอดทนอดกลั้นยอมถอยไม่ยอมประทะเหมือนเหตุการ2553โดยการที่ท่านยอมยุบสภา ไม่เหมือนตอนเหตุการปี2553ที่ประชาชนขอแค่ให้รัฐบาลยุบสภาเพื่อเลือกตั้งใหม่แต่ตอนนั้นกบฏสุเทพและพวกเล็งเห็นว่าถ้าเลือกตั้งใหม่ตนเองก็จะแพ้ให้กับเสียงของประชาชนส่วนมากจึงทำให้กบฏผู้นี้สั่งสลายการชุมนุมทำให้ประชาชนล้มตายเป็นจำนวนมาก '''และที่สำคัญยังมีบุคคลซึ่งมีอำนาจและเงินตรามากมายค่อยหนุนหลังกบฏผู้นี้อยู่ซึ่งบุคคลเหล่านี้ล้วนเคยได้ผลประโยชน์ในขณะที่กบฎผู้นี้เคยเป็นรัฐบาลจึงทำให้เขาสามารถลอยหน้าลอยตาอยู่ได้ในสังคมจึงทำให้สังคมเป็นภัยเกิดความไม่หน้าอยู่'''

'''ข้อสังเกตอีกอย่างที่น่าสนใจและน่าสงสัยมานานมากแล้วว่าการรัฐประหารในประเทศไทยหลังจากการรัฐประหารจะมีพรรคการเมื่องอยู่พรรคหนึ่งที่ได้รับประโยชน์เต็มๆและเข้ามาเป็นรัฐบาลโดยการแต่งตั้งจากขณะปติวัดซึ่งตั้งแต่มีการรัฐประหารมายังไม่เคยมีพรรคการเมืองพรรคไหนยกเว้นพรรคนี้ได้เป็นรัฐบาลหลังการรัฐประหาร
'''


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:46, 2 มีนาคม 2557

อหิงสา หรือ อหึงสา (สันสกฤต: अहिंसा) หมายถึง การไม่เบียดเบียน, การเว้นจากการทำร้าย คำว่า "อหิงสา" ยังหมายถึง การไม่ใช้ความรุนแรง และในศาสนาแบบอินเดียหลายศาสนา มโนทัศน์ดังกล่าวใช้กับสิ่งมีชีวิตทุกชนิดรวมทั้งสัตว์[1]

อหิงสาเป็นคุณธรรมหลักอย่างหนึ่ง[2]และเป็นความเชื่อสำคัญของศาสนาแบบอินเดียที่สำคัญ (ศาสนาฮินดู ศาสนาพุทธและศาสนาเชน) อหิงสาเป็นมโนทัศน์หลายมิติ[3] ได้รับบันดาลใจจากข้อตั้งที่ว่าสิ่งมีชีวิตทั้งปวงล้วนมีเสี้ยวหนึ่งของพลังงานวิญญาณเทวะ การทำร้ายสิ่งอื่นจึงเป็นการทำร้ายตนเอง อหิงสายังเกี่ยวข้องกับแนวคิดที่ว่า ความรุนแรงใด ๆ มีผลกรรมสะท้อนกลับมา ขณะที่ปราชญ์ฮินดูสมัยโบราณบุกเบิกและพัฒนาหลักการอหิงสา มโนทัศน์ดังกล่าวกลายมามีสถานะพิเศษในปรัชญาจริยธรรมของศาสนาเชน[2][4] มหาตมา คานธีขึ้นชื่อมากที่สุดว่าเป็นผู้เชื่อในหลักอหิงสาอย่างแรงกล้า

ในประเทศไทย ก็มีการชุมนุมหลายรูปแบบ ที่อ้างว่าใช้หลัก อหิงสา

เช่น การประท้วงรัฐบาลรักษาการณ์ของ น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นำโดย กบฏ สุเทพ เทือกสุบรรณ เพื่อเรียกร้องให้มีการยกเลิก พรบ นิรโทษกรรม แต่พอท่านนายกได้ยกเลิกไปแล้ว กบฏนายนี้ก็ยกเรื่องให้มีการปฏิรูปประเทศไทยซึ่งก่อนหน้านี้ตนเองก็เคยเป็นรัฐบาลที่ได้มาด้วยความไม่โปร่งใสประเด็นคือทำไมกบฏผู้นี้จึงไม่ปฏิรูปในสมัยที่ตนเป็นรัฐบาลกลับพึ่งมาเรียกร้องตอนตนเองแพ้เลือกตั้งมาแล้วกว่า20ปี โดยการไม่ฟังเสียงส่วนมาก โดยอ้างว่ามีเสียงของมวลมหาประชาชนส่นใหญ่ทั่วทั้งประเทศจำนวนมากสนับสนุนตัวเองอยู่ แต่หารู้ไม่ว่าเป็นเพียงแค่การคิดไปเองที่จริงแล้วเป็นเพียงเสียงเล็กๆไม่ถึง 15% ของคนทั้งประเทศ และยังยั้วยุให้เกิดความรุนแรงภายในประเทศทำให้ประชาชนผู้รักประชาธิปไตรล้มตายไปเป็นจำนวนมาก ซึ่งท่านนายกได้ใช้ความอดทนอดกลั้นยอมถอยไม่ยอมประทะเหมือนเหตุการ2553โดยการที่ท่านยอมยุบสภา ไม่เหมือนตอนเหตุการปี2553ที่ประชาชนขอแค่ให้รัฐบาลยุบสภาเพื่อเลือกตั้งใหม่แต่ตอนนั้นกบฏสุเทพและพวกเล็งเห็นว่าถ้าเลือกตั้งใหม่ตนเองก็จะแพ้ให้กับเสียงของประชาชนส่วนมากจึงทำให้กบฏผู้นี้สั่งสลายการชุมนุมทำให้ประชาชนล้มตายเป็นจำนวนมาก และที่สำคัญยังมีบุคคลซึ่งมีอำนาจและเงินตรามากมายค่อยหนุนหลังกบฏผู้นี้อยู่ซึ่งบุคคลเหล่านี้ล้วนเคยได้ผลประโยชน์ในขณะที่กบฎผู้นี้เคยเป็นรัฐบาลจึงทำให้เขาสามารถลอยหน้าลอยตาอยู่ได้ในสังคมจึงทำให้สังคมเป็นภัยเกิดความไม่หน้าอยู่

ข้อสังเกตอีกอย่างที่น่าสนใจและน่าสงสัยมานานมากแล้วว่าการรัฐประหารในประเทศไทยหลังจากการรัฐประหารจะมีพรรคการเมื่องอยู่พรรคหนึ่งที่ได้รับประโยชน์เต็มๆและเข้ามาเป็นรัฐบาลโดยการแต่งตั้งจากขณะปติวัดซึ่งตั้งแต่มีการรัฐประหารมายังไม่เคยมีพรรคการเมืองพรรคไหนยกเว้นพรรคนี้ได้เป็นรัฐบาลหลังการรัฐประหาร

อ้างอิง

  1. Bajpai, Shiva (2011). The History of India - From Ancient to Modern Times, Himalayan Academy Publications (Hawaii, USA), ISBN 978-1-934145-38-8; see pages 8, 98
  2. 2.0 2.1 Stephen H. Phillips & other authors (2008), in Encyclopedia of Violence, Peace, & Conflict (Second Edition), ISBN 978-0123739858, Elsevier Science, Pages 1347–1356, 701-849, 1867
  3. John Arapura in K. R. Sundararajan and Bithika Mukerji Ed. (1997), Hindu spirituality: Postclassical and modern, ISBN 978-8120819375; see Chapter 20, pages 392-417
  4. Chapple, C. (1990). Nonviolence to animals, earth and self in Asian Traditions (see Chapter 1). State University of New York Press (1993)

แม่แบบ:Link GA