ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กุ้งกุลาดำ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{Taxobox
{{Taxobox
| name = ''กุ้งกุลาดำ''
| name = ''กุ้งกุลาดำ''
บรรทัด 11: บรรทัด 10:
| familia = [[Penaeidae]]
| familia = [[Penaeidae]]
| genus = ''[[Penaeus]]''
| genus = ''[[Penaeus]]''
| species = P. monodon
| species = '''''P. monodon'''''
| binomial = Penaeus monodon
| binomial = ''Penaeus monodon''
| binomial_authority = [[Johan Christian Fabricius|Fabricius]], 1798
| binomial_authority = [[Johan Christian Fabricius|Fabricius]], 1798
}}
}}


'''กุ้งกุลาดำ''' หรือ '''กุ้งม้าลาย''' (Tiger prawn, ''Penaeus monodon'') เป็นกุ้งทะเล ขนาดประมาณ 18 - 25 ซม. เป็นกุ้งที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในวงศ์ Penaeidae อาศัยอยู่ในเขตร้อน ชอบอาศัยอยู่ในบริเวณน้ำลึก ห่างออกจากฝั่งและชอบพื้นทะเลที่เป็นดินทราย สามารถเจริญเติบโตได้อย่างรวดเร็ว ทนอยู่ในน้ำที่มีอุณหภูมิสูงและความเค็มต่ำ เช่น บริเวณ[[ป่าชายเลน]] ได้ดี และหาอาหารจำพวก[[แพลงก์ตอน]] [[หนอน]] [[แมลงน้ำ]]
'''กุ้งกุลาดำ''' หรือ '''กุ้งม้าลาย''' ({{lang-en|Tiger prawn}}; {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Penaeus monodon}}<ref>{{cite web|url=http://www.seagrantfish.lsu.edu/biological/invasive/tigerprawn.htm|title=Giant Tiger Prawn|work=Sea Grant Extension Project|publisher=[[Louisiana State University]]|accessdate=2013-09-24}}</ref>) เป็นกุ้งทะเล ขนาดประมาณ 18 - 25 เซนติเมตร เป็นกุ้งที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในวงศ์ Penaeidae อาศัยอยู่ในเขตร้อน ชอบอาศัยอยู่ในบริเวณน้ำลึก ห่างออกจากฝั่งและชอบพื้นทะเลที่เป็นดินทราย สามารถเจริญเติบโตได้อย่างรวดเร็ว ทนอยู่ในน้ำที่มีอุณหภูมิสูงและความเค็มต่ำ เช่น บริเวณ[[ป่าชายเลน]] ได้ดี และหาอาหารจำพวก[[แพลงก์ตอน]], [[หนอน]], [[แมลงน้ำ]]


== ลักษณะทั่วไป ==
== ลักษณะทั่วไป ==
กุ้งกุลาดำมีหนวดลายจางมากไม่เด่นชัด แก้มอยู่ในแนวระนาบ และสันที่อยู่สองข้างโคนกรี ยาวเกือบถึงฟันกรีอันหลังสุด ซึ่งมีสันแนวข้างเฉียงชี้ไปทางนัยน์ตา นอกจากนี้มีลักษณะอื่น ๆ ที่เด่นชัดคือ ลำตัวสีแดงอมน้ำตาลถึงน้ำตาลเข้มมีลายพาดขวางด้านหลังประมาณ 9 ลาย และสีออกน้ำตาลเข้มข้างแถบสีขาว ด้านบนของกรีมีฟัน 6-8 ซี่ ด้านล่างมี 2-4 ซี่ ขอบปลายหางและขาว่ายน้ำมีขนสีแดง และมีขนาดตัวประมาณ 18 - 25 ซม.
กุ้งกุลาดำมีหนวดลายจางมากไม่เด่นชัด แก้มอยู่ในแนวระนาบ และสันที่อยู่สองข้างโคนกรี ยาวเกือบถึงฟันกรีอันหลังสุด ซึ่งมีสันแนวข้างเฉียงชี้ไปทางนัยน์ตา นอกจากนี้มีลักษณะอื่น ๆ ที่เด่นชัดคือ ลำตัวสีแดงอมน้ำตาลถึงน้ำตาลเข้มมีลายพาดขวางด้านหลังประมาณ 9 ลาย และสีออกน้ำตาลเข้มข้างแถบสีขาว ด้านบนของกรีมีฟัน 6-8 ซี่ ด้านล่างมี 2-4 ซี่ ขอบปลายหางและขาว่ายน้ำมีขนสีแดง และมีขนาดตัวประมาณ 18 - 25 เซนติเมตร<ref name="FAO">{{cite web |url=http://www.fao.org/fishery/culturedspecies/Penaeus_monodon/en |work=Cultured Aquatic Species Information Programme |title=''Penaeus monodon'' (Fabricius, 1798) |publisher=[[Food and Agriculture Organization]] |accessdate=June 6, 2011}}</ref>
== ถิ่นอาศัย ==
== ถิ่นอาศัย ==
กุ้งกุลาดำอาศัยอยู่ทั่วไปใน[[ทวีปเอเชีย]] ใน[[ประเทศไทย]]พบแพร่กระจายทั่วไปใน[[อ่าวไทย]] แต่จะพบมากบริเวณ[[เกาะช้าง]] บริเวณนอกฝั่ง[[จังหวัดชุมพร]]ถึง[[จังหวัดนครศรีธรรมราช]]และทางฝั่ง[[มหาสมุทรอินเดีย]] ([[ทะเลอันดามัน]]) บริเวณนอกฝั่งของ[[จังหวัดภูเก็ต]] และ[[จังหวัดระนอง]] ชอบอาศัยอยู่ในบริเวณที่มีพื้นดินเป็นทรายปนโคน
กุ้งกุลาดำอาศัยอยู่ทั่วไปใน[[ทวีปเอเชีย]] ใน[[ประเทศไทย]]พบแพร่กระจายทั่วไปใน[[อ่าวไทย]] แต่จะพบมากบริเวณ[[เกาะช้าง]] บริเวณนอกฝั่ง[[จังหวัดชุมพร]]ถึง[[จังหวัดนครศรีธรรมราช]]และทางฝั่ง[[มหาสมุทรอินเดีย]] ([[ทะเลอันดามัน]]) บริเวณนอกฝั่งของ[[จังหวัดภูเก็ต]] และ[[จังหวัดระนอง]] ชอบอาศัยอยู่ในบริเวณที่มีพื้นดินเป็นทรายปนโคน<ref name="SPW">{{cite book |
|series=FAO Species Catalogue |volume=1 |title=Shrimps and Prawns of the World. An Annotated Catalogue of Species of Interest to Fisheries |author=L. B. Holthuis |publisher=[[Food and Agriculture Organization]] |year=1980 |isbn=92-5-100896-5 |chapter=''Penaeus (Penaeus) monodon'' |page=50 |url=http://www.fao.org/docrep/009/ac477e/ac477e00.htm |authorlink=Lipke Holthuis}}</ref>


== ประโยชน์ ==
== ประโยชน์ ==
เพาะเลี้ยงกันแพร่หลายในประเทศของ[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] ใช้บริโภคในประเทศ และส่งไปจำหน่ายต่างประเทศ
เพาะเลี้ยงกันแพร่หลายในประเทศของ[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] ใช้บริโภคในประเทศ และส่งไปจำหน่ายต่างประเทศ<ref name="FAO"/>

==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}


[[หมวดหมู่:กุ้ง]]
[[หมวดหมู่:กุ้ง]]
[[category:สัตว์เศรษฐกิจ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:12, 15 กุมภาพันธ์ 2557

กุ้งกุลาดำ
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Arthropoda
ไฟลัมย่อย: Crustacea
ชั้น: Malacostraca
อันดับ: Decapoda
อันดับย่อย: Dendrobranchiata
วงศ์: Penaeidae
สกุล: Penaeus
สปีชีส์: P.  monodon
ชื่อทวินาม
Penaeus monodon
Fabricius, 1798

กุ้งกุลาดำ หรือ กุ้งม้าลาย (อังกฤษ: Tiger prawn; ชื่อวิทยาศาสตร์: Penaeus monodon[1]) เป็นกุ้งทะเล ขนาดประมาณ 18 - 25 เซนติเมตร เป็นกุ้งที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในวงศ์ Penaeidae อาศัยอยู่ในเขตร้อน ชอบอาศัยอยู่ในบริเวณน้ำลึก ห่างออกจากฝั่งและชอบพื้นทะเลที่เป็นดินทราย สามารถเจริญเติบโตได้อย่างรวดเร็ว ทนอยู่ในน้ำที่มีอุณหภูมิสูงและความเค็มต่ำ เช่น บริเวณป่าชายเลน ได้ดี และหาอาหารจำพวกแพลงก์ตอน, หนอน, แมลงน้ำ

ลักษณะทั่วไป

กุ้งกุลาดำมีหนวดลายจางมากไม่เด่นชัด แก้มอยู่ในแนวระนาบ และสันที่อยู่สองข้างโคนกรี ยาวเกือบถึงฟันกรีอันหลังสุด ซึ่งมีสันแนวข้างเฉียงชี้ไปทางนัยน์ตา นอกจากนี้มีลักษณะอื่น ๆ ที่เด่นชัดคือ ลำตัวสีแดงอมน้ำตาลถึงน้ำตาลเข้มมีลายพาดขวางด้านหลังประมาณ 9 ลาย และสีออกน้ำตาลเข้มข้างแถบสีขาว ด้านบนของกรีมีฟัน 6-8 ซี่ ด้านล่างมี 2-4 ซี่ ขอบปลายหางและขาว่ายน้ำมีขนสีแดง และมีขนาดตัวประมาณ 18 - 25 เซนติเมตร[2]

ถิ่นอาศัย

กุ้งกุลาดำอาศัยอยู่ทั่วไปในทวีปเอเชีย ในประเทศไทยพบแพร่กระจายทั่วไปในอ่าวไทย แต่จะพบมากบริเวณเกาะช้าง บริเวณนอกฝั่งจังหวัดชุมพรถึงจังหวัดนครศรีธรรมราชและทางฝั่งมหาสมุทรอินเดีย (ทะเลอันดามัน) บริเวณนอกฝั่งของจังหวัดภูเก็ต และจังหวัดระนอง ชอบอาศัยอยู่ในบริเวณที่มีพื้นดินเป็นทรายปนโคน[3]

ประโยชน์

เพาะเลี้ยงกันแพร่หลายในประเทศของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ใช้บริโภคในประเทศ และส่งไปจำหน่ายต่างประเทศ[2]

อ้างอิง

  1. "Giant Tiger Prawn". Sea Grant Extension Project. Louisiana State University. สืบค้นเมื่อ 2013-09-24.
  2. 2.0 2.1 "Penaeus monodon (Fabricius, 1798)". Cultured Aquatic Species Information Programme. Food and Agriculture Organization. สืบค้นเมื่อ June 6, 2011.
  3. L. B. Holthuis (1980). "Penaeus (Penaeus) monodon". Shrimps and Prawns of the World. An Annotated Catalogue of Species of Interest to Fisheries. FAO Species Catalogue. Vol. 1. Food and Agriculture Organization. p. 50. ISBN 92-5-100896-5. {{cite book}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า : |1= (help)