ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศักย์ไฟฟ้า"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ตรวจลิขสิทธิ์}}
'''ความต่างศักย์''' ({{lang-en|Potential difference}}) คือ ปริมาณใน[[ฟิสิกส์]]ที่เกี่ยวข้องกับปริมาณ[[พลังงาน]]ในการย้ายวัตถุจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดโดยต้านแรงที่มากระทำ คำนี้มักใช้เป็นคำย่อของคำว่า ความต่างศักย์ไฟฟ้า (electrical potential difference)


'''ความต่างศักย์ไฟฟ้า''' ({{lang-en|Potential difference}}) ในทฤษฏีแม่เหล็กไฟฟ้าแบบ คลาสสิก ศักย์ทางไฟฟ้า (ปริมาณสเกลาร์แสดงโดย {{math|Φ}}, {{math|Φ<sub>'''''E'''''</sub>}} หรือ {{math|''V''}} และ ยังถูกเรียกว่า ศักย์สนามไฟฟ้าหรือศักย์ไฟฟ้าสถิต) ที่จุดหนึ่งของที่ว่างคือปริมาณของพลังงานไฟฟ้าที่มีศักยภาพที่ที่ซึ่งมีประจุไฟฟ้ามารวมกันที่จุดนั้น
กล่าวอีกอย่างหนึง่ว่า ''ความต่างศักย์'' คือ ความแตกต่างของปริมาณหนึ่งระหว่างจุดสองจุดใน[[สนามเวกเตอร์อนุรักษ์]] ตัวอย่างเช่น


ศักย์ไฟฟ้าที่จุดหนึ่งๆมีค่าเท่ากับพลังงานศักย์ไฟฟ้า(วัดเป็นจูล)ของอนุภาคใดๆที่ถูกประจุที่ตำแหน่งนั้นๆ หารด้วยประจุ(วัดเป็นคูลอมบ์)ของอนุภาค เนื่องจากประจุของอนุภาคที่ถูกทดสอบได้ถูกแบ่งออกไป ศักย์ไฟฟ้าจึงเป็น "คุณลักษณะ" ที่เกี่ยวข้องเฉพาะกับสนามไฟฟ้า ของตัวเองแต่ไม่เกี่ยวข้องกับอนุภาคที่ถูกทดสอบ ศักย์ไฟฟ้าสามารถคำนวณได้ที่จุดใน สนามไฟฟ้าคงที่(เวลาไม่เปลี่ยน)หรือในสนามไฟฟ้าแบบไดนามิก(เปลี่ยนไปตามเวลา)ในเวลาที่กำหนด และมีหน่วยเป็นจูลต่อคูลอมบ์({{math|''J C''<sup>–1</sup>}}), หรือ [[volt]]s ({{math|''V''}})
* ใน[[กลศาสตร์]] ''ความต่างศักย์โน้มถ่วง'' ระหว่างจุดสองจุดบนโลก เกี่ยวข้องกับพลังงานในการย้ายวัตถุจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดภายใต้[[สนามโน้มถ่วง]]ของโลก มีหน่วยเป็น [[จูล]]ต่อ[[กิโลกรัม]]

* ในวิศวกรรมไฟฟ้า ''ความต่างศักย์ไฟฟ้า'' คือ พลังงานในการย้าย[[ประจุไฟฟ้า]]จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดภายใต้[[สนามไฟฟ้าสถิตย์]] มีหน่วยเป็น [[จูล]]ต่อ[[คูลอมบ์]] หรือ [[โวลต์]]
นอกจากนี้ยังมีศักย์ไฟฟ้าสเกลล่าร์ทั่วไปที่ใช้ในระบบ electrodynamics เมื่อสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลงไปตามเวลาปรากฎอยู่ อย่างไรก็ตาม ศักย์ไฟฟ้าทั่วไปไม่สามารถตีความ ง่ายๆว่าเป็นอัตราส่วนของพลังงานที่มีศักยภาพในการประจุ
* ในระบบของไหล ''ความต่างศักย์'' คือ ความแตกต่างของ[[ความดัน]] มีหน่วยเป็น [[พาสคัล]]
* ในระบบอุณหภูมิ ''ความต่างศักย์'' คือ ความแตกต่างของ[[อุณหภูมิ]] มีหน่วยเป็น [[เคลวิน]]<ref>[http://www.chaiwit.ac.th/portfolio/charinee/dream/page2%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%A8%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A2%E0%B9%8C.html ความต่างศักย์]</ref><ref>[http://www.thaigoodview.com/node/50144 ความต่างศักย์ไฟฟ้า]</ref>


{{โครง}}
{{โครง}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:26, 23 มกราคม 2557

ความต่างศักย์ไฟฟ้า (อังกฤษ: Potential difference) ในทฤษฏีแม่เหล็กไฟฟ้าแบบ คลาสสิก ศักย์ทางไฟฟ้า (ปริมาณสเกลาร์แสดงโดย Φ, ΦE หรือ V และ ยังถูกเรียกว่า ศักย์สนามไฟฟ้าหรือศักย์ไฟฟ้าสถิต) ที่จุดหนึ่งของที่ว่างคือปริมาณของพลังงานไฟฟ้าที่มีศักยภาพที่ที่ซึ่งมีประจุไฟฟ้ามารวมกันที่จุดนั้น

ศักย์ไฟฟ้าที่จุดหนึ่งๆมีค่าเท่ากับพลังงานศักย์ไฟฟ้า(วัดเป็นจูล)ของอนุภาคใดๆที่ถูกประจุที่ตำแหน่งนั้นๆ หารด้วยประจุ(วัดเป็นคูลอมบ์)ของอนุภาค เนื่องจากประจุของอนุภาคที่ถูกทดสอบได้ถูกแบ่งออกไป ศักย์ไฟฟ้าจึงเป็น "คุณลักษณะ" ที่เกี่ยวข้องเฉพาะกับสนามไฟฟ้า ของตัวเองแต่ไม่เกี่ยวข้องกับอนุภาคที่ถูกทดสอบ ศักย์ไฟฟ้าสามารถคำนวณได้ที่จุดใน สนามไฟฟ้าคงที่(เวลาไม่เปลี่ยน)หรือในสนามไฟฟ้าแบบไดนามิก(เปลี่ยนไปตามเวลา)ในเวลาที่กำหนด และมีหน่วยเป็นจูลต่อคูลอมบ์(J C–1), หรือ volts (V)

นอกจากนี้ยังมีศักย์ไฟฟ้าสเกลล่าร์ทั่วไปที่ใช้ในระบบ electrodynamics เมื่อสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลงไปตามเวลาปรากฎอยู่ อย่างไรก็ตาม ศักย์ไฟฟ้าทั่วไปไม่สามารถตีความ ง่ายๆว่าเป็นอัตราส่วนของพลังงานที่มีศักยภาพในการประจุ

อ้างอิง