ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เอไอเอ็ม-9 ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น เอไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์: เนื้อหาเหมือนกัน ปลายทางยังไม่ wikify
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''เอไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์''' เป็นจรวดขีปนาวุธอากาศสู่อากาศพิสัยใกล้ติดตั้งบนเครื่องบินขับไล่ในกองทัพอากาศ
'''เอไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์''' เป็นจรวด[[ขีปนาวุธ]]อากาศสู่อากาศพิสัยใกล้ติดตั้งบน[[เครื่องบินขับไล่]]ในกองทัพติดตามด้วย[[ความร้อน]]


การพัฒนา จรวดในตระกูล AIM-9 ได้เริ่มมีการทดลองวิจัยในปี ค.ศ. 1940 โดย NAVAL WEAPON CENTER ประจำการใน และออกเป็นผลผลิตในรุ่นแรกคือ AIM-9B ซึ่งเข้าค.ศ.1956 ต่อมาทั้ง US NAVY และ US AIRFORCE ได้แยกกันในการพัฒนา จึงได้เป็นผลผลิตออกมาอีกหลายรุ่นคือ AIM-9C, AIM-9D, AIM-9E, AIM-9G, AIM-9H, AIM-9J,AIM-9P และ AIM-9N ต่อมาได้หันมาร่วมมือกันในการพัฒนามา เป็น AIM-9L ทอ.ได้จัดหา AIM-9P-3 และ AIM-9P-4 เข้าประจำการเมื่อ ปี 2522 และ ปี 2532 ตามลำดับ ปัจจุบันใช้งานกับ บ.F-5 และ บ.F-16 ในส่วน 9P-3 และ 9P-4 เป็นการพัฒนา ขึ้นมาจาก AIM-9P ซึ่งมี. ความยาว 3.07 ม. เส้นผ่าศูนย์กลาง 127 มม. WINGSPAN 0.64 ม. น้ำหนัก 82 กก. โดยเพิ่ม ขีดความสามารถในส่วนควบคุมการนำวิถีจากเดิม เฉพาะAIM-9P นั้น สามารถตรวจจับ IR ได้จากทางท้าย ท่อสันดาปของ บ.เท่านั้น ให้สามารถตรวจจับ IR ได้ทุกทิศทางอีกทั้งสามารถใช้งานได้หลาย MODE ขึ้นอยู่กับระบบ AVIONICS ที่ติดตั้งใช้งานกับ บ. เช่น BORSIGHT MODE, UNCAGE SCAN MODESIGHT, SLAVED MODE หรือ HELMET-MOUNTED ในส่วน 9P-4 ได้เพิ่มชนวน เฉียดระเบิด แบบทำงานด้วยแสง เลเซอร์สะท้อนกลับ มีระยะยิงหวังผล 8 กม. ผลิตโดยบริษัท FORD AEROSPACE ซึ่งต่อมาได้ถูกซื้อกิจการต่อมาเรื่อยๆ จนปัจจุบันเป็นของ บริษัท LOCKHEED MARTIN ประเทศสหรัฐอเมริกา
การพัฒนา จรวดในตระกูล AIM-9 ได้เริ่มมีการทดลองวิจัยในปี ค.ศ. 1940 โดย NAVAL WEAPON CENTER ประจำการใน และออกเป็นผลผลิตในรุ่นแรกคือ AIM-9B ซึ่งเข้า ค.ศ. 1956 ต่อมาทั้ง US NAVY และ US AIRFORCE ได้แยกกันในการพัฒนา จึงได้เป็นผลผลิตออกมาอีกหลายรุ่นคือ AIM-9C, AIM-9D, AIM-9E, AIM-9G, AIM-9H, AIM-9J,AIM-9P และ AIM-9N ต่อมาได้หันมาร่วมมือกันในการพัฒนามา เป็น AIM-9L ทอ.ได้จัดหา AIM-9P-3 และ AIM-9P-4 เข้าประจำการเมื่อ ปี 2522 และ ปี 2532 ตามลำดับ ปัจจุบันใช้งานกับ เครื่องบินรบ [[F-5]] และ [[F-16]] ในส่วน 9P-3 และ 9P-4 เป็นการพัฒนา ขึ้นมาจาก AIM-9P ซึ่งมีความยาว 3.07 ม. เส้นผ่าศูนย์กลาง 127 มม. WINGSPAN 0.64 ม. น้ำหนัก 82 กก. โดยเพิ่ม ขีดความสามารถในส่วนควบคุมการนำวิถีจากเดิม เฉพาะAIM-9P นั้น สามารถตรวจจับ IR ได้จากทางท้าย ท่อสันดาปของเครื่องบินเท่านั้น ให้สามารถตรวจจับ IR ได้ทุกทิศทางอีกทั้งสามารถใช้งานได้หลาย MODE ขึ้นอยู่กับระบบ AVIONICS ที่ติดตั้งใช้งานกับ บ. เช่น BORSIGHT MODE, UNCAGE SCAN MODESIGHT, SLAVED MODE หรือ HELMET-MOUNTED ในส่วน 9P-4 ได้เพิ่มชนวน เฉียดระเบิด แบบทำงานด้วยแสง [[เลเซอร์]]สะท้อนกลับ มีระยะยิงหวังผล 8 กม. ผลิตโดยบริษัท FORD AEROSPACE ซึ่งต่อมาได้ถูกซื้อกิจการต่อมาเรื่อยๆ จนปัจจุบันเป็นของ บริษัท LOCKHEED MARTIN ประเทศสหรัฐอเมริกา


==ข้อมูลทั่วไป==
==ข้อมูลทั่วไป==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:00, 30 เมษายน 2550

เอไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์ เป็นจรวดขีปนาวุธอากาศสู่อากาศพิสัยใกล้ติดตั้งบนเครื่องบินขับไล่ในกองทัพติดตามด้วยความร้อน

การพัฒนา จรวดในตระกูล AIM-9 ได้เริ่มมีการทดลองวิจัยในปี ค.ศ. 1940 โดย NAVAL WEAPON CENTER ประจำการใน และออกเป็นผลผลิตในรุ่นแรกคือ AIM-9B ซึ่งเข้า ค.ศ. 1956 ต่อมาทั้ง US NAVY และ US AIRFORCE ได้แยกกันในการพัฒนา จึงได้เป็นผลผลิตออกมาอีกหลายรุ่นคือ AIM-9C, AIM-9D, AIM-9E, AIM-9G, AIM-9H, AIM-9J,AIM-9P และ AIM-9N ต่อมาได้หันมาร่วมมือกันในการพัฒนามา เป็น AIM-9L ทอ.ได้จัดหา AIM-9P-3 และ AIM-9P-4 เข้าประจำการเมื่อ ปี 2522 และ ปี 2532 ตามลำดับ ปัจจุบันใช้งานกับ เครื่องบินรบ F-5 และ F-16 ในส่วน 9P-3 และ 9P-4 เป็นการพัฒนา ขึ้นมาจาก AIM-9P ซึ่งมีความยาว 3.07 ม. เส้นผ่าศูนย์กลาง 127 มม. WINGSPAN 0.64 ม. น้ำหนัก 82 กก. โดยเพิ่ม ขีดความสามารถในส่วนควบคุมการนำวิถีจากเดิม เฉพาะAIM-9P นั้น สามารถตรวจจับ IR ได้จากทางท้าย ท่อสันดาปของเครื่องบินเท่านั้น ให้สามารถตรวจจับ IR ได้ทุกทิศทางอีกทั้งสามารถใช้งานได้หลาย MODE ขึ้นอยู่กับระบบ AVIONICS ที่ติดตั้งใช้งานกับ บ. เช่น BORSIGHT MODE, UNCAGE SCAN MODESIGHT, SLAVED MODE หรือ HELMET-MOUNTED ในส่วน 9P-4 ได้เพิ่มชนวน เฉียดระเบิด แบบทำงานด้วยแสง เลเซอร์สะท้อนกลับ มีระยะยิงหวังผล 8 กม. ผลิตโดยบริษัท FORD AEROSPACE ซึ่งต่อมาได้ถูกซื้อกิจการต่อมาเรื่อยๆ จนปัจจุบันเป็นของ บริษัท LOCKHEED MARTIN ประเทศสหรัฐอเมริกา

ข้อมูลทั่วไป

  • ประเภท AIR TO AIR MISSILE
  • ผู้ผลิต LOCKHEED MARTIN USA.
  • ปีผลิต 1956
  • ระยะยิง 10-18 MILE (depending on altitude)
  • ความเร็ว SUPERSONIC MACH 2.5
  • ดินขับ SOLID STATE
  • หัวรบ 20.8-25 LBS. BLAST FRAGMENTATION
  • ระบบนำวิถี INFRARED HOMIMG SYSTEM