ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรมสอบสวนคดีพิเศษ"

พิกัด: 13°53′25″N 100°33′56″E / 13.890401°N 100.565656°E / 13.890401; 100.565656
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 105: บรรทัด 105:
# พัฒนาบุคลากรโดยเสริมสร้างศักยภาพในด้าน ความรู้ ความสามารถ คุณธรรม จริยธรรม และขวัญกำลังใจ
# พัฒนาบุคลากรโดยเสริมสร้างศักยภาพในด้าน ความรู้ ความสามารถ คุณธรรม จริยธรรม และขวัญกำลังใจ
# ประสานส่งเสริมเครือข่าย ความร่วมมือในการป้องกัน ปราบปรามและควบคุมอาชญากรรมกับทุกภาคส่วนทั้งภายในและต่างประเทศ
# ประสานส่งเสริมเครือข่าย ความร่วมมือในการป้องกัน ปราบปรามและควบคุมอาชญากรรมกับทุกภาคส่วนทั้งภายในและต่างประเทศ
# เป็นหน่วยงานที่รับใช้นักการเมืองรังแกฝ่ายตรงข้าม
# มีอธิบดีเป็นขี้ข้าระบอบทักษิณ
# ชอบทำคดีแรด
# ชอบทำคดีการเป่านกหวีด



== หน่วยงานในสังกัด ==
== หน่วยงานในสังกัด ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:18, 22 ธันวาคม 2556

กรมสอบสวนคดีพิเศษ
ไฟล์:DSI thai.jpg
ภาพรวมหน่วยงาน
ก่อตั้ง3 ตุลาคม พ.ศ. 2545
เขตอำนาจทั่วราชอาณาจักร เฉพาะคดีที่คณะกรรมการคดีพิเศษมีมติให้เป็นคดีพิเศษ
สำนักงานใหญ่128 หมู่ 3 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210
งบประมาณประจำปี1,038.9427 ล้านบาท (พ.ศ. 2555)[1]
ฝ่ายบริหารหน่วยงาน
  • ธาริต เพ็งดิษฐ์, อธิบดี
  • พ.ต.อ.ญาณพล ยั่งยืน, รองอธิบดี 1
  • พ.ต.อ.ประเวศน์ มูลประมุข, รองอธิบดี 2
  • ศิวาพร ชื่นจิตต์ศิริ, รองอธิบดี 3
ต้นสังกัดกระทรวงยุติธรรม
เว็บไซต์www.dsi.go.th

กรมสอบสวนคดีพิเศษแห่งราชอาณาจักรไทย (อังกฤษ: Department of Special Investigation) หรือ ดีเอสไอ (อังกฤษ: DSI) เป็นหน่วยงานของรัฐ สังกัด กระทรวงยุติธรรม เพื่อป้องกัน ปราบปราม และควบคุมอาชญากรรมที่มีผลกระทบอย่างร้ายแรงต่อเศรษฐกิจ สังคม ความมั่นคงและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

ประวัติ

กรมสอบสวนคดีพิเศษก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545 ตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 ใช้ชื่อภาษาอังกฤษว่า Department of Special Investigation มีชื่อย่อว่า DSI

อำนาจหน้าที่

กรมสอบสวนคดีพิเศษมีบทบาทภารกิจดังต่อไปนี้

  1. ป้องกัน ปราบปรามและควบคุมอาชญากรรมที่มีผลกระทบร้ายแรงต่อเศรษฐกิจ สังคม ความมั่นคง และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
  2. พัฒนา กฎหมาย กฎระเบียบ รูปแบบ วิธีการ และมาตรการในการป้องกัน ปราบปรามและควบคุมอาชญากรรมที่มีผลกระทบอย่างร้ายแรงต่อเศรษฐกิจ สังคม ความมั่นคง และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
  3. พัฒนาโครงการและการบริหารจัดการองค์กร
  4. พัฒนาบุคลากรโดยเสริมสร้างศักยภาพในด้าน ความรู้ ความสามารถ คุณธรรม จริยธรรม และขวัญกำลังใจ
  5. ประสานส่งเสริมเครือข่าย ความร่วมมือในการป้องกัน ปราบปรามและควบคุมอาชญากรรมกับทุกภาคส่วนทั้งภายในและต่างประเทศ

หน่วยงานในสังกัด

  • สำนักผู้เชี่ยวชาญคดีพิเศษ
  • สำนักบริหารกลาง
  • สำนักคดีอาญาพิเศษ 1
  • สำนักคดีอาญาพิเศษ 2
  • สำนักคดีอาญาพิเศษ 3
  • สำนักกิจการต่างประเทศและคดีอาชญากรรมระหว่างประเทศ
  • สำนักคดีทรัพย์สินทางปัญญา
  • สำนักคดีการเงินการธนาคาร
  • สำนักคดีเทคโนโลยีและสารสนเทศ
  • สำนักเทคโนโลยีและศูนย์ข้อมูลการตรวจสอบ
  • สำนักคุ้มครองผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม
  • สำนักคดีภาษีอากร
  • สำนักพัฒนาและสนับสนุนคดีพิเศษ

คดีที่อยู่ในความรับผิดชอบ

คดีพิเศษ หรือคดีอาชญากรรมพิเศษในความรับผิดชอบของกรมสอบสวนคดีพิเศษ หมายถึง คดีอาญาตามกฎหมายกำหนดไว้ในบัญชีท้าย พระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ. 2547 (แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2551) หรือคดีอาญาที่ได้กำหนดเป็นกฎกระทรวงโดยการเสนอแนะของคณะกรรมการคดีพิเศษ (กคพ.) ซึ่งคดีดังกล่าวต้องมีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้

ทำเนียบอธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ

รายนาม วาระการดำรงตำแหน่ง
1. พลตำรวจโท นพดล สมบูรณ์ทรัพย์ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2545 - 23 กันยายน พ.ศ. 2546
2. พลตำรวจเอก สมบัติ อมรวิวัฒน์ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 - 9 มกราคม พ.ศ. 2550
3. นายสุนัย มโนมัยอุดม 16 มกราคม พ.ศ. 2550 - 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551
4. พันตำรวจเอก ทวี สอดส่อง 11 เมษายน พ.ศ. 2551 - 29 กันยายน พ.ศ. 2552
5. นาย ธาริต เพ็งดิษฐ์ 29 กันยายน พ.ศ. 2552 - 22 ธันวาคม 2556 ปัจจุบันเสียชีวิตแล้ว

อ้างอิง

  1. พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 129 ตอนที่ 15ก วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2555

แหล่งข้อมูลอื่น

13°53′25″N 100°33′56″E / 13.890401°N 100.565656°E / 13.890401; 100.565656