ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สารแขวนลอย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
recover from vd
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:WaterAndFlourSuspensionLiquid.jpg|thumb|แป้งที่แขวนลอยอยู่ในน้ำ]]
[[ไฟล์:WaterAndFlourSuspensionLiquid.jpg|thumb|แป้งที่แขวนลอยอยู่ในน้ำ]]
'''สารแขวนลอย''' คือสารแขวนลอย เป็นสารที่ประกอบด้วยอนุภาคเล็ก ๆ ของของแข็ง
'''สารแขวนลอย''' คือ[[สารผสม]]ของสสารต่างชนิดกันที่ไม่เป็นเนื้อเดียวกันและมีอนุภาคใหญ่กว่า 1 [[ไมโครเมตร]] (1000 [[นาโนเมตร]]) ในหนึ่งมิติเป็นอย่างน้อย ซึ่งใหญ่กว่าอนุภาคของ[[คอลลอยด์]]<ref>Chemistry: Matter and Its Changes, 4th Ed. by Brady, Senese, ISBN 0471215171</ref> อนุภาคในสารแขวนลอยสามารถตกตะกอนได้เมื่อตั้งทิ้งไว้ และอาจสามารถแยกออกจากกันได้ เช่น ทรายในน้ำ ส่วนคอลลอยด์นั้นจะไม่สามารถแยกออกจากกันได้และไม่ตกตะกอน สารแขวนลอยไม่สามารถผ่านรูกระดาษกรองและกระดาษเซลโลเฟนได้<ref>The Columbia Electronic Encyclopedia, 6th ed. Copyright © 2007, Columbia University Press.</ref>
มีขนาด เส้นผ่าศูนย์กลางใหญ่กว่าสารคอลลอยด์ สารแขวนลอย
จะมีเส้นผ่าศูนย์กลางใหญ่กว่า 1 x 10-4 เซนติเมตร อนุภาค
ของของแข็งลอยกระจายอยู่ในของเหลวซึ่งสามารถมองเห็นได้
อย่างชัดเจน เมื่อตั้งทิ้งไว้นิ่ง ๆ จะเกิดการตกตะกอน เช่น น้ำโคลน
น้ำคลอง น้ำอบไทย น้ำแป้ง เป็นต้น


== ตัวอย่างสารแขวนลอย ==
* [[โคลน]]หรือน้ำขุ่น ซึ่งมีอนุภาคของ[[ดิน]]อยู่ในน้ำ
* [[แป้ง]]หรือผง[[ชอล์ก]]ที่แขวนลอยในน้ำ ดังรูปทางขวามือ
* อนุภาคของ[[ฝุ่น]]ที่แขวนลอยใน[[อากาศ]]


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:34, 16 ธันวาคม 2556

แป้งที่แขวนลอยอยู่ในน้ำ

สารแขวนลอย คือสารแขวนลอย เป็นสารที่ประกอบด้วยอนุภาคเล็ก ๆ ของของแข็ง มีขนาด เส้นผ่าศูนย์กลางใหญ่กว่าสารคอลลอยด์ สารแขวนลอย จะมีเส้นผ่าศูนย์กลางใหญ่กว่า 1 x 10-4 เซนติเมตร อนุภาค ของของแข็งลอยกระจายอยู่ในของเหลวซึ่งสามารถมองเห็นได้ อย่างชัดเจน เมื่อตั้งทิ้งไว้นิ่ง ๆ จะเกิดการตกตะกอน เช่น น้ำโคลน น้ำคลอง น้ำอบไทย น้ำแป้ง เป็นต้น


อ้างอิง

ดูเพิ่ม