ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าพาหุรัตมณีมัย กรมพระเทพนารีรัตน์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
| สีพิเศษ = orangered
| สีพิเศษ = orangered
| ภาพ = ไฟล์:เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย.jpg
| ภาพ = ไฟล์:เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย.jpg
| caption = สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย กรมพระเทพนารีรัตน์
| พระนาม = เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย ประไพพรรณพิจิตร์ นริศรราชกุมารี
| พระนาม = เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย ประไพพรรณพิจิตร์ นริศรราชกุมารี
| พระนามเต็ม =
| พระนามเต็ม =
| ฐานันดร = เจ้าฟ้าชั้นเอก
| ฐานันดร = เจ้าฟ้าชั้นเอก
| วันประสูติ = [[19 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2421]]
| วันประสูติ = 19 ธันวาคม พ.ศ. 2421
| วันสวรรคต = {{วันตายและอายุ|2430|8|27|2421|12|19}}
| วันสวรรคต = {{วันตายและอายุ|2430|8|27|2421|12|19}}
| พระอิสริยยศ = สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ ชั้น 5
| พระอิสริยยศ = สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ ชั้น 5
บรรทัด 18: บรรทัด 17:
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์จักรี]]
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์จักรี]]
}}
}}
'''สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย ประไพพรรณพิจิตร์ นริศรราชกุมารี กรมพระเทพนารีรัตน์'''<ref>กรมศิลปากร, สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์. ''[http://bcnnon.ac.th/webnon/Load/2013/01/king22.pdf ราชสกุลวงศ์]''. พิมพ์ครั้งที่ 14. กรุงเทพฯ:สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร. 2554, หน้า 86</ref> พระราชธิดาใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ 5 และ [[สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]] ประสูติเมื่อวันที่ [[19 ธันวาคม]] 2421 มีพระนามเต็มว่าสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย ประไพพรรณพิจิตร นริศราชกุมารี สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ [[27 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2430]] ชาววังออกพระนามว่า "'''ทูลกระหม่อมหญิงใหญ่'''"<ref>[[จุลลดา ภักดีภูมินทร์]], [http://www.sakulthai.com/DSakulcolumndetailsql.asp?stcolumnid=4331&stissueid=2669&stcolcatid=2&stauthorid=13 เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ปฐมจุลจอมเกล้า เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๖], สกุลไทย, ฉบับที่ 2669, ปีที่ 52, ประจำวันอังคารที่ 13 ธันวาคม 2548</ref>


'''สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย ประไพพรรณพิจิตร์ นริศรราชกุมารี กรมพระเทพนารีรัตน์'''<ref>กรมศิลปากร, สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์. ''[http://bcnnon.ac.th/webnon/Load/2013/01/king22.pdf ราชสกุลวงศ์]''. พิมพ์ครั้งที่ 14. กรุงเทพฯ:สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร. 2554, หน้า 86</ref> (ประสูติ: 19 ธันวาคม พ.ศ. 2421 — สิ้นพระชนม์: 27 สิงหาคม พ.ศ. 2430) พระราชธิดาใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ 5 และ [[สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]] ประสูติเมื่อวันที่ [[19 ธันวาคม]] 2421 มีพระนามเต็มว่าสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย ประไพพรรณพิจิตร นริศรราชกุมารี ชาววังออกพระนามว่า "'''ทูลกระหม่อมหญิงใหญ่'''"<ref>[[จุลลดา ภักดีภูมินทร์]], [http://www.sakulthai.com/DSakulcolumndetailsql.asp?stcolumnid=4331&stissueid=2669&stcolcatid=2&stauthorid=13 เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ปฐมจุลจอมเกล้า เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๖], สกุลไทย, ฉบับที่ 2669, ปีที่ 52, ประจำวันอังคารที่ 13 ธันวาคม 2548</ref>
สิ้นพระชนม์ในวัยเพียง 8 พระชันษา สมเด็จพระศรีพัชรินทราพระบรมราชินีนาถจึงทรงนำทรัพย์สินส่วนพระองค์ของพระราชธิดามาสร้างเป็น[[ถนน]] โดยพระราชทานนามว่า "[[พาหุรัด]]" เพื่อเป็นอนุสรณ์แด่พระราชธิดาอันเป็นที่รัก

สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย ประไพพรรณพิจิตร นริศรราชกุมารี สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ [[27 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2430]] ในวัยเพียง 8 พระชันษา สมเด็จพระศรีพัชรินทราพระบรมราชินีนาถจึงทรงนำทรัพย์สินส่วนพระองค์ของพระราชธิดามาสร้างเป็น[[ถนน]] โดยพระราชทานนามว่า "[[พาหุรัด]]" เพื่อเป็นอนุสรณ์แด่พระราชธิดาอันเป็นที่รัก


ในปี [[พ.ศ. 2458]] พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชโองการสถาปนาพระอัฐิสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ เป็นเจ้าฟ้าต่างกรมฝ่ายในที่ "กรมพระ" มีพระนามว่า '''สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย ประไพพรรณพิจิตร์ นริศรราชกุมารี กรมพระเทพนารีรัตน์'''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2458/A/371.PDF ประกาศ สถาปนาสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้าพาหุรัตมรีมัย เป็นกรมพระเทพนารีรัตน์], เล่ม ๓๒, ตอน ๐ก, ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๕๘, หน้า ๓๗๑ </ref>
ในปี [[พ.ศ. 2458]] พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชโองการสถาปนาพระอัฐิสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ เป็นเจ้าฟ้าต่างกรมฝ่ายในที่ "กรมพระ" มีพระนามว่า '''สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย ประไพพรรณพิจิตร์ นริศรราชกุมารี กรมพระเทพนารีรัตน์'''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2458/A/371.PDF ประกาศ สถาปนาสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้าพาหุรัตมรีมัย เป็นกรมพระเทพนารีรัตน์], เล่ม ๓๒, ตอน ๐ก, ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๕๘, หน้า ๓๗๑ </ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:43, 27 พฤศจิกายน 2556

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าพาหุรัตมณีมัย กรมพระเทพนารีรัตน์

เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย ประไพพรรณพิจิตร์ นริศรราชกุมารี
ไฟล์:เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย.jpg
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ ชั้น 5
ประสูติ19 ธันวาคม พ.ศ. 2421
สวรรคต27 สิงหาคม พ.ศ. 2430 (8 ปี)
ราชวงศ์ราชวงศ์จักรี
พระบิดาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระมารดาสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย ประไพพรรณพิจิตร์ นริศรราชกุมารี กรมพระเทพนารีรัตน์[1] (ประสูติ: 19 ธันวาคม พ.ศ. 2421 — สิ้นพระชนม์: 27 สิงหาคม พ.ศ. 2430) พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 และ สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ประสูติเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2421 มีพระนามเต็มว่าสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย ประไพพรรณพิจิตร นริศรราชกุมารี ชาววังออกพระนามว่า "ทูลกระหม่อมหญิงใหญ่"[2]

สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย ประไพพรรณพิจิตร นริศรราชกุมารี สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2430 ในวัยเพียง 8 พระชันษา สมเด็จพระศรีพัชรินทราพระบรมราชินีนาถจึงทรงนำทรัพย์สินส่วนพระองค์ของพระราชธิดามาสร้างเป็นถนน โดยพระราชทานนามว่า "พาหุรัด" เพื่อเป็นอนุสรณ์แด่พระราชธิดาอันเป็นที่รัก

ในปี พ.ศ. 2458 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชโองการสถาปนาพระอัฐิสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ เป็นเจ้าฟ้าต่างกรมฝ่ายในที่ "กรมพระ" มีพระนามว่า สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย ประไพพรรณพิจิตร์ นริศรราชกุมารี กรมพระเทพนารีรัตน์[3] เจ้าฟ้าพาหุรัดมีมัยนั้น เมื่อยังเสด็จดำรงพระชนม์อยู่ ทรงมีมารยาทเรียบร้อยเป็นอันดีสมควรกับขัตติยราชกุมารี เป็นที่เสน่หาปราโมทย์แห่งพระประยูรญาติทั้งปวงยิ่งนัก

สมเด็จพระราชชนนีทรงเสน่หาเป็นอย่างยิ่งเพราะเป็นพระราชบุตรีพระองค์แรก และมีพระโรคเบียดเบียนอยู่เนืองๆและเป็นพระพี่นางของรัชกาลที่ 6 และรัชกาลที่ 7

พงศาวลี

อ้างอิง

  1. กรมศิลปากร, สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์. ราชสกุลวงศ์. พิมพ์ครั้งที่ 14. กรุงเทพฯ:สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร. 2554, หน้า 86
  2. จุลลดา ภักดีภูมินทร์, เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ปฐมจุลจอมเกล้า เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๖, สกุลไทย, ฉบับที่ 2669, ปีที่ 52, ประจำวันอังคารที่ 13 ธันวาคม 2548
  3. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศ สถาปนาสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้าพาหุรัตมรีมัย เป็นกรมพระเทพนารีรัตน์, เล่ม ๓๒, ตอน ๐ก, ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๕๘, หน้า ๓๗๑