ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาพวน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
|speakers= 306,000 คน <ref>[http://www.ethnologue.com/show_language.asp?code=phu ข้อมูลภาษาพวน]</ref>
|speakers= 306,000 คน <ref>[http://www.ethnologue.com/show_language.asp?code=phu ข้อมูลภาษาพวน]</ref>
|iso3= phu
|iso3= phu
|familycolor=[[ตระกูลภาษาไท-กะได|ไท-กะได]]
|familycolor=Tai-Kadai
|fam1 = [[ตระกูลภาษาไท-กะได|ไท-กะได]]
|fam2=[[กลุ่มภาษากัม-ไท|กัม-ไท]]
|fam2=[[กลุ่มภาษากัม-ไท|กัม-ไท]]
| fam3 = [[กลุ่มภาษาเบ-ไท|บี-ไท]]
| fam3 = [[กลุ่มภาษาเบ-ไท|บี-ไท]]
| fam4 = [[กลุ่มภาษาไท-แสก|ไท-แสก]]
| fam4 = [[กลุ่มภาษาไท-แสก|ไท-แสก]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:00, 19 พฤศจิกายน 2556

ภาษาพวน
ประเทศที่มีการพูดประเทศไทย ลาว
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
จำนวนผู้พูด306,000 คน [1]  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
ระบบการเขียนอักษรพวน, อักษรลาว, อักษรไทย, อักษรธรรมลาว
รหัสภาษา
ISO 639-3phu

ภาษาพวน หรือ ภาษาลาวพวน เป็นภาษาในตระกูลไท-กะได เป็นภาษาของชาวไทพวนหรือลาวพวน คำศัพท์ใกล้เคียงกับภาษาลาวและภาษาไทยถิ่นอีสานมากกว่าภาษาไทยภาคกลางและเป็นภาษาที่ใกล้เคียงกันกับภาษาผู้ไทมาก มีเสียงพยัญชนะ 20 เสียง เป็นตัวสะกดได้ 9 เสียง มีเสียงควบกล้ำเฉพาะ /คฺว/ เท่านั้น สระมี 21 เสียง เป็นสระเดี่ยว 18 เสียง สระประสม 3 เสียง วรรณยุกต์มี 6 เสียง

ตัวอย่างคำ[2][3][4]

ภาษาพวน ภาษาลาว ภาษาไทย
1 ฮัก ฮัก รัก
2 หัวเจอ หัวใจ หัวใจ
3 เผอ ใผ ใคร
4 ไปกะเลอ/ไปเก๋อ ไปใส ไปไหน
5 โบ่ง/ซ้อน บ่วง ช้อน
6 เห้อ ให้ ให้
7 เจ้าเป็นไทบ้านเลอ [5] เจ้าเป็นไทบ้านใด คุณเป็นคนบ้านไหน
8 เอ็ดผิเลอ/เอ็ดหังก้อ เฮ็ดหยัง ทำอะไร
9 ไปแท้บ่ ไปอีหลีบ่ ไปจริงๆหรอ
10 เจ๊าแม่นเผอ เจ้าแม่นใผ คุณเป็นใคร
11 ป่องเอี๊ยม ป่องเอี๊ยม หน้าต่าง
12 มันอยู่กะเลอบุ๊ มันอยู่ใสบ่ฮู้ มันอยู่ไหนไม่รู้
13 ไปนำกันบ๊อ ไปนำกันบ่ ไปด้วยกันไหม
14 มากันหลายหน่อล้า มากันหลายคือกันน้อ มากันเยอะเหมือนกันนะ
15 มากี๊ท้อ มานี้แด่ มานี่เถอะ
16 บ๊าแฮ้ง อีแฮ้ง อีแร้ง
17 บ๊าจ๊อน กะฮอก กระรอก
18 หม่าทัน หมากกะทัน พุทรา
19 หน้าแด่น หน้าผาก หน้าผาก
20 หม่ามี้ หมากมี่ ขนุน

อ้างอิง

  • วีระพงศ์ มีสถาน. สารานุกรมกลุ่มชาติพันธุ์ พวน. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนาชนบท. 2539.